ชุมชน

การใช้งานฟังก์ชันชุมชน (Community)

ในการใช้งานแอปพลิเคชัน มีฟังก์ชันชุมชน (Community) ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงกลุ่มที่ผู้ใช้งานเป็นสมาชิก สามารถสร้างกลุ่ม กดเข้าร่วมกลุ่ม รวมถึงการค้นหากลุ่ม โดยในการเข้าใช้งานฟังก์ชันมีขั้นตอนดังนี้

  1. ผู้ใช้งานทำการเข้าสู่ระบบ แอปพลิเคชันแสดงหน้า Home ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 หน้าจอ Home
ภาพที่ 2 หน้าจอ Community
  1. ทำการกดในส่วนไอคอน ที่มุมขวาล่างของหน้าจอ

  2. แอปพลิเคชันแสดงหน้า Community ดังภาพที่ 2

การสร้างกลุ่ม มีขั้นตอนดังนี้

  1. ผู้ใช้งานทำการกดเข้าหน้า Community ดังภาพที่ 3

  2. ทำการกดปุ่ม ในภาพที่ 3

  3. แอปพลิเคชันแสดงหน้าสร้างกลุ่ม (Creating Group) ดังภาพที่ 4

  4. ทำการใส่รูป โดยกดที่ไอคอน

  5. ใส่ชื่อกลุ่ม

  6. เลือกประเภทกลุ่ม

กรณีผู้ใช้งานเลือกประเภทกลุ่มเป็นแบบ Messaging

ดังภาพที่ 5 แอปพลิเคชันจะแสดงหน้าต่างแชทกลุ่มที่สร้างในภาพที่ 6 ซึ่งเป็นกลุ่มที่สามารถแชทได้อย่างเดียว

ภาพที่ 5 หน้าจอเลือกประเภทกลุ่มแบบ Messaging
ภาพที่ 6 หน้าจอแชทกลุ่มแบบ Messaging

กรณีผู้ใช้งานเลือกประเภทกลุ่มเป็นแบบ Organization

ดังภาพที่ 7 แอปพลิเคชันจะแสดงหน้าต่างแชทกลุ่มที่สร้าง ซึ่งเป็นกลุ่มที่สามารถแชทได้ และสามารถใช้งาน Micro app (Task, Board, Calendar) ภายในกลุ่มได้ซึ่งแสดงในหน้าจัดการกลุ่ม ดังภาพที่ 8

ภาพที่ 7 หน้าจอเลือกประเภทกลุ่มแบบ Organization
ภาพที่ 8 หน้าจอจัดการกลุ่มแบบ Organization

กรณีผู้ใช้งานเลือกประเภทกลุ่มเป็นแบบ Community

ดังภาพที่ 9 แอปพลิเคชันจะแสดงหน้าต่างแชทกลุ่มที่สร้าง ซึ่งเป็นกลุ่มที่สามารถแชทได้ ใช้งานไฟล์ โพสต์ และสามารถใช้งาน Micro app (Task, Board, Calendar) ภายในกลุ่มได้ซึ่งแสดงในหน้าจัดการกลุ่ม ดังภาพที่ 10

ภาพที่ 9 หน้าจอเลือกประเภทกลุ่มแบบ Community
ภาพที่ 10 หน้าจอกลุ่มแบบ Community
  1. เลือก Category

กรณีที่ผู้ใช้งานเลือก Category เป็นแบบ Private group

ดังภาพที่ 11 เมื่อมีผู้ใช้งานอื่นต้องการเข้าร่วมกลุ่ม เจ้าของกลุ่มต้องทำการเชิญเข้าได้อย่างเดียว ผู้ใช้งานอื่นไม่สามารถค้นหากลุ่มแบบ Private group เจอ

ภาพที่ 11 หน้าจอเลือก Category เป็นแบบ Private group

กรณีที่ผู้ใช้งานเลือก Category เป็นแบบ Public closed-group

ดังภาพที่ 12 เป็นกลุ่มที่ผู้ใช้งานอื่นสามารถค้นหาเจอ และสามารทำการขอเข้าร่วมกลุ่มได้ แต่ต้องได้รับการยินยอมจากเจ้าของกลุ่มก่อนจึงจะสามารถถเข้าร่วมกลุ่มได้

ภาพที่ 12 หน้าจอเลือก Category เป็นแบบ Public closed-group

กรณีที่ผู้ใช้งานเลือก Category เป็นแบบ Public Open-group

ดังภาพที่ 13 เป็นกลุ่มที่ผู้ใช้งานอื่นสามารถค้นหาเจอ และสามารทำการขอเข้าร่วมกลุ่มได้เลย

ภาพที่ 13 หน้าจอเลือก Category เป็นแบบ Public closed-group

  1. กดปุ่ม เพื่อทำการสร้างกลุ่ม

  2. ในกรณีที่ผู้ใช้งานต้องการยกเลิกการสร้างกลุ่ม สามารกดปุ่มกลับ ที่มุมซ้ายบนของหน้าจอ

การเข้าร่วมกลุ่มแบบ Public closed-group มีขั้นตอนดังนี้

  1. ผู้ใช้งานทำการกดเข้าหน้า Community ในภาพที่ 14

  2. กดเลือกกลุ่มแบบ Public closed-group

ภาพที่ 14 หน้าจอ Community
  1. แอปพลิเคชันแสดงชื่อกลุ่ม จำนวนสมาชิกในกลุ่ม และปุ่ม “Join” เป็น Pop up ขึ้นมาดังภาพที่ 15

ภาพที่ 15 Pop up เข้าร่วมกลุ่ม
ภาพที่ 16 กลุ่มที่ทำการขอเข้าร่วม
  1. กดปุ่ม ในภาพที่ 15 ปุ่มจะเปลี่ยนเป็น Requested ดังภาพที่ 16

ภาพที่ 17 Pop up เข้าร่วมกลุ่ม
ภาพที่ 18 Pop up เข้าร่วมกลุ่ม

กรณีที่ผู้ใช้งานต้องการยกเลิกคำขอเข้าร่วมกลุ่ม ทำการกดปุ่ม

  1. เมื่อผู้ใช้งานอื่นที่เป็นเจ้าของกลุ่มทำการกดยินยอมการเข้าร่วมกลุ่ม ผู้ใช้งานจะถูกเพิ่มเป็นสมาชิกกลุ่มโดยอัตโนมัติ

การเข้าร่วมกลุ่มแบบ Public open-group มีขั้นตอนดังนี้

  1. ผู้ใช้งานทำการกดเข้าหน้า Community ในภาพที่ 19

ภาพที่ 19 หน้าจอ Community
  1. กดเลือกกลุ่มแบบ Public open-group

  2. แอปพลิเคชันแสดงชื่อกลุ่ม จำนวนสมาชิกในกลุ่ม และปุ่ม “Join” เป็น Pop up ขึ้นมาดังภาพที่ 20

ภาพที่ 20 Pop up เข้าร่วมกลุ่ม
ภาพที่ 21 หน้าจอกลุ่มแบบ Community
  1. กดปุ่ม ผู้ใช้งานจะถูกเพิ่มเป็นสมาชิกกลุ่มโดยอัตโนมัติ และแอปพลิเคชันจะแสดงกลุ่มที่เรากดเข้าร่วม

Last updated

Was this helpful?