Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
การประยุกต์ใช้งานกับ File hub center
สำหรับไฟล์ต่างๆที่อยู่ภายใน Center นั้น ทาง Center ได้มีบริการ provide API ที่ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับระบบที่พัฒนาโดย tools page designer ของ ONEWEB ซึ่งรองรับการแสดงความสัมพันธ์ของฟิลด์ข้อมูลบนเว็บฟอร์มกับข้อมูลบน Image ตามตำแหน่งที่กำหนดได้
วิธีการ Caching เอกสารประเภทรูปภาพ
ผู้ใช้งานสามารถ Caching เอกสารประเภทรูปภาพได้โดยการนำ id ของรูปภาพมาใส่ใน url ดังต่อไปนี้
Action Center เป็นแจ้งเตือนและประวัติการแจ้งเตือน โดยผู้ใช้งานสามารถรู้ได้ว่ามีใครทำการเพิ่มเพื่อน หรือเข้าร่วมกลุ่มได้จากที่นี่
ผู้ใช้งานสามารถลบรายการแจ้งเตือนได้โดยการกดที่ ไอคอน X ที่รายการแจ้งเตือน หรือลบหลายรายได้โดยการกดที่ จากนั้นหน้าจอจะแดสงดังภาพด้านล่าง
Platform ที่ให้บริการการสื่อสารทางธุรกิจ
Center App เป็น Platform ที่ให้บริการการสื่อสารทางธุรกิจที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยทีมนักพัฒนาของ Avalant Co.,Ltd. นอกจากจะให้บริการการสื่อสารทางธุรกิจแล้ว ยังสามารถทำงานร่วมกับ Platform ONEWEB ได้ด้วย ตอนนี้ Center Platform มีบริการทั้งบนเว็บไซต์และบนมือถือ
สำหรับ Center mobile สามารถดาวน์โหลดได้ทั้งบน Play store และ App store
Center on Play store
Center on App store
หน้า Home ของ Center
เมื่อเรา Sign in เข้าสู่ Center ได้สำเร็จ หน้าแรกที่เราจะพบก็คือหน้า Home โดยในส่วนของหน้าจะแสดงส่วนของ Post ต่างๆที่ผู้ใช้คนอื่นๆหรือของเราเอง และ Quick Chat ที่สามารถกดเปิดได้จาก Icon chat ด้านขวาบน ดังที่แสดงไว้ในรูป
My Center จะเป็นพื้นที่ที่แสดงโพสต์ เพื่อน กลุ่ม และการเช็คอินจะอยู่ในส่วนนี้ โดยในหน้านี้จะประกอบไปแท็บต่างๆดังนี้
Post - โพสต์ทุกโพตส์ของผู้ใช้งานจะถูกรวบรวมมาแสดงไว้ในหน้านี้ หรือโพสต์ที่ถูกแท็กจากผู้ใช้งานคนอื่น ก็จะมาแสดงในหน้านี้เช่นกัน
Save - จะเป็นหน้าที่เก็บรวบรวมโพสต์ที่ผู้ใช้งานทำการบันทึกไว้ และโพสต์ที่ร่างไว้ก็จะอยู่ในหน้านี้เช่นกัน
Friend - รายชื่อเพื่อนทั้งหมดจะถูกแสดงไว้ที่หน้านี้ นอกจากนี้แล้วผู้ใช้งานยังสามารถเพิ่มเพื่อนได้จากหน้านี้เช่นกัน
Group - แสดงรายชื่อกลุ่มต่างๆที่เข้าร่วม หรือหากกลุ่มใดที่เราเป็นผู้ดูแลหรือเจ้าของ หากมีคนขอเข้าร่วมกลุ่ม ผู้ใช้งานจะสามารถอนุมัติคำขอเข้าร่วมกลุ่มได้จากหน้านี้
Live - ผู้ใช้งานสามารถไลฟ์ หรือดูได้ว่ามีเพื่อนคนไหนกำลังไลฟ์ได้จากหน้านี้
Conference - ผู้ใช้งานสามารถดูว่ากลุ่มที่เข้าร่วมอยู่นั้นมีการประชุมออนไลน์ได้ตรงนี้
การใช้งานโพสต์ (Post) และส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโพสต์
ในส่วนของโพสต์เราสามารถที่จะสร้าง แก้ไข ลบ หรือสร้างแบบบันทึกร่างได้ที่นี่ และที่หน้านี้เราจะมองเห็นโพสต์ของเพื่อนๆ โดยที่เราสามารถที่จะโต้ตอบกับโพสต์ของเพื่อนได้ด้วยการกดถูกใจ แสดงข้อความ และกดบันทึกโพสต์ของเพื่อนไว้ได้เพื่อกลับมาดูภายหลังได้ ซึ่งโพสต์ที่เราทำการบันทึกไว้หรือบันทึกแบบร่างไว้ สามารถเข้าไปเปิดดูซ้ำได้ที่ My Center นอกจากนี้แล้ว หากเราเจอโพสต์ที่ไม่เหมาะสม เราสามารถทำการแจ้ง Report ได้ด้วย
กดที่ส่วนของ What's on your mind? (หรือ คุณกำลังคิดอะไรอยู่ ในภาษาไทย) จากนั้นจะมีหน้าต่าง Create Post แสดงขึ้นมา
หน้าต่างสำหรับเริ่มการสร้าง Post จะมีส่วนของ การตั้งค่าความเป็นส่วนตัวของโพสต์ หัวข้อ คำบรรยาย และเครื่องมือต่างๆที่ช่วยในการสร้าง Post เช่น การแท็กเพื่อน อัพโหลดรูปภาพ วิดีโอ การจัดตำแหน่งของตัวหนังสือ การจัดรูปแบบตัวหนังสือ และการใส่สีพื้นหลัง เรียงจากซ้ายไปขวาตามลำดับ และสามารถเลือกประเภทของโพสต์ได้ โดยส่วนของประเภทจะเปรียบเสมือน Hashtag ใน Facebook
กดที่ Icon แรกสุด จะปรากฏหน้าต่างที่แสดงรายชื่อของเพื่อนและกลุ่ม โดยเราสามารค้นหาเพื่อนหรือกลุ่มที่เราต้องการแท็กได้ โดยการแท็กนี้จะส่งแจ้งเตือนไปยังเพื่อนที่เราแท็กที่ Action center และแสดงที่หน้า My center ของเพื่อน หรือหากเราแท็กกลุ่ม Post ของเราก้จะไปแสดงในหน้า Feed ของกลุ่มที่เราแท็ก (ในกรณีที่กลุ่มเป็นกลุ่มรูปแบบ Community)
ในหน้าต่างของการแท็กเพื่อน จะแสดงรายชื่อของเพื่อนและกลุ่มตามลำดับ ซึ่งเราสามารถแท็กเพื่อนหรือกลุ่มโดยการกดปุ่มเพิ่มที่ด้านหลังของรายชื่อที่เราต้องการแท็ก
เมื่อกดเพิ่มแล้ว รายชื่อที่เราจะแท็กจะไปแสดงที่ช่องด้านบน ถ้าหากเราต้องการยกเลิกก็กดที่กากบาทตรงรายชื่อที่เราต้องการยกเลิกที่ช่องด้านบน เมื่อเราทำการแท็กเพื่อนที่ต้องการเสร็จแล้วก็ให้กดที่บันทึก จะเป็นการแท็กเพื่อนหรือกลุ่มสำเร็จ
ในการสร้างโพสต์ เราสามารถจะอัพโหลด media ต่างๆได้โดยการกดที่ Icon รูปภาพ เมื่อกดที่ Icon ก็จะแสดงหน้าต่างโฟลเดอร์ของเครื่องขึ้นมา ให้เราทำการเลือกไฟล์มีเดียที่เราต้องการ และกดเลือกเพื่ออัพโหลด
เมื่ออัพโหลดรูปภาพเสร็จเรียบร้อย ไฟล์ที่ทำการอัพโหลดจะแสดงเรียงกันที่ด้านล่างดังในภาพ และหากผู้ใช้ต้องการลบภาพที่อัพโหลดมาแล้วออกก็สามารถกดลบได้โดยการกดกากบาทที่ไฟล์
ในโพสต์หากเรามีการใส่คำบรรยาย สามารถที่จะจัดตำแหน่งของคำบรรยายได้โดยการกดที่ Icon paragraph จะแสดงรูปแบบ Aligment ของคำบรรยายขึ้นมาให้เลือก
ผู้ใช้งานสามารถปรับแต่งรูปแบบของคำบรรยายได้โดยการกดที่ Icon A จะแสดงรูปแบบของคำบรรยายขึ้นมาให้เลือก
สำหรับโพสต์ที่ไม่มีการอัพโหลดไฟล์ media มีแค่คำบรรยาย เราสามารถปรับแต่งสีพื้นหลังของคำบรรยายได้โดยคลิกที่ Icon สี จะแสดงสีต่างๆขึ้นมาให้เลือก
ในการสร้างโพสต์ ผู้ใช้งานสามารถจำกัดการมองเห็นโพสต์ของตนได้ในส่วนของการตั้งค่าความเป็นส่วนตัวของโพสต์ ซึ่งส่วนนี้จะอยู่ตรงใต้ชื่อผู้ใช้ ดังในภาพ โดยตั้งค่าแรกเริ่มของโพสต์จะเป็นเฉพาะเพื่อนเท่านั้น
ผู้ใช้งานสามารถแก้ไข หรือลบโพสต์ของผู้ใช้งานเองได้โดยการกดที่ Kebab menu ที่อยู่มุมขวาบนของโพสต์
เมื่อกดแล้วจะแสดงให้เราเลือกว่าจะแก้ไขหรือลบโพสต์ของเราได้
หากผู้ใช้งานยังไม่ต้องการโพสต์ในขณะนั้น ต้องการร่างข้อมูลไว้สำหรับโพสต์ภายหลัง ให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่ม บันทึกแบบร่าง จากนั้นโพสต์ของผู้ใช้งานจะถูกบันทึกเอาไว้ ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเข้าดูโพสต์ที่ถูกร่างเอาไว้ได้ที่หน้า My Center แท็บ Save
ในหน้าหลัก ผู้ใช้งานจะสังเกตุเห็นกับสัญลักษณ์ที่มุมขวา โดยฟีเจอร์นี้จะเรียกว่า Quick Chat เป็นฟีเจอร์ที่ทำให้ผู้ใช้งานสามารถส่งข้อความได้เลยโดยไม่ต้องกดเข้าไปใน Connect เมื่อผู้ใช้งานกดที่ไอคอนนี้ จะมีหน้าต่างแสดงดังในภาพ และด้านบนจะมีแสดงรายการของเพื่อน และกลุ่ม ซึ่งจะเป็นรายชื่อที่เคยส่งข้อความหากันมาก่อน
เมื่อผู้ใช้งานต้องการส่งข้อความหาเพื่อน ให้กดที่รูปโปรไฟล์ของเพื่อน จากนั้นระบบจะแสดงประวัติการพูดคุยก่อนหน้าขึ้นมาดังภาพ
หรือหากต้องการส่งข้อความหากลุ่ม ให้ผู้ใช้งานกดที่ group แล้วกดที่รูปโปรไฟล์กลุ่ม
บนโพสต์ในหน้าหลักที่ผู้ใช้งานมองเห็น ผู้ใช้งานสามารถโต้ตอบกับโพสต์เหล่านั้นได้หลากหลาย ทั้งการกดถูกใจ แสดงความคิดเห็น หรือบันทึกโพสต์ไว้ดูภายหลังได้ โดยจากรูป ผู้ใช้งานจะเห็นไอค่อนต่างๆ
โดยแต่ละไอคอน มีความสามารถในการโต้ตอบกับโพสต์ได้ดังต่อไปนี้
Pin Post เป็นการปักหมุดโพสต์ โดยผู้ใช้งานสามารถปักหมุดได้ทั้งโพสต์ของตนเองหรือโพสต์ของผู้ใช้งานคนอื่น ซึ่งการปักหมุดนี้จะไม่ส่งผลต่อหน้าฟีดของเพื่อน จะมีเพียงผู้ปักหมุดเท่านั้นที่จะเห็นโพสต์แสดงอยู่แรกสุดของหน้าฟีด
Save Post เป็นการบันทึกโพสต์ไว้ดูภายหลัง ซึ่งบันได้ได้ทั้งดพสต์ของตนเองและของผู้ใช้งานคนอื่น
กดถูกใจ หากชื่นชอบโพสต์ใด ผู้ใช้งานสามารถกดถูกใจโพสต์หรือคอมเม้นได้
แสดงความคิดเห็น ผู้ใช้งานสามารถแสดงความคิดเห็นต่อโพสต์ต่างๆได้โดยคลิกที่ไอคอนนี้ของโพสต์
ระบบจะแสดงรูปภาพที่เลือกดังภาพ จากนั้นกด Enter เท่านี้ผู้ใช้งานก็สามารถแสดงความคิดเห็นด้วยรูปภาพได้สำเร็จ
บน Center จะมีฟีเจอร์ให้ผู้ใช้งานทำการ Check-in บน Center Web ผู้ใช้งานสามารถ Check-in ได้ผ่านหน้า My Center โดยผู้ใช้งานจะเห็นปุ่ม อยู่ที่แท็บด้านซ้ายมือ ดังภาพ
ให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่ม จากนั้นหน้าจอจะแสดงแผนที่ขึ้นมาดังภาพที่ 2
Save ใน My Center จะเก็บโพสต์ที่ผู้ใช้งานทำการกดบันทึก(Save)ไว้ และเก็บโพสต์ที่ทำการร่างเอาไว้ (Draft) โดยเมื่อกดเข้ามาผู้ใช้งานจะเห็นแท็บ Save/Draft อยู่ ดังในภาพ
ในส่วนของ Save จะเก็บทุกโพสต์ที่ผู้ใช้งานทำการบันทึกเอาไว้ทั้งของโพสต์เพื่อนหรือโพสต์ของเราเอง
ส่วนของ Draft จะเก็บโพสต์ที่เราเคยร่างไว้แต่ยังไม่ได้โพสต์ หากต้องการโพสต์แล้วให้ผู้ใช้งานกดเข้าไปใน Draft จากนั้นกดที่ Kebab menu ที่มุมขวาบนของโพสต์ สุดท้ายกดที่ Edit Post ดังรูป
หน้าจอจะแสดงหน้าต่างโพสต์ดังในภาพที่ 3 หากผู้ใช้งานต้องการใส่ข้อมูลเพิ่มเติม ให้ทำการใส่ข้อมูลหรือแก้ไข จากนั้นให้กดปุ่ม Post
หน้า Request จะเป็นหน้าที่เก็บรวบรวมคำขอทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น คำขอเป็นเพื่อนที่มีคนส่งมา คำขอเป็นเพื่อนที่เราเป็นคนส่งไป คำขอเข้าร่วมกลุ่มของเรา หรือคำขอเข้าร่วมกลุ่มที่รอเราอนุมัติ โดยจะแบ่งออกเป็นหน้าแยกกัน ดังในภาพ
Friend Request - คำขอเป็นเพื่อนที่ส่งมาให้เราอนุมัติ
Friend Pending - คำขอที่รอเพื่อนอนุมัติ
Group Request - คำขอเข้าร่วมกลุ่มที่รอเราอนุมัติ
Group Pending - คำขอเข้าร่วมกลุ่มของเรา
ก่อนที่จะทำการเข้าสู้ระบบได้ ผู้ใช้งานจำเป็นต้องทำการสมัครบัญชีผู้ใช้ก่อน โดยผู้ใช้งานสามารถสมัครบัญชีผู้ใช้ได้ดังต่อไปนี้
กดที่ Sign up ดังภาพที่ 1
จากนั้นผู้ใช้งานจะพบกับหน้า Create account โดยผู้ใช้งานสามารถเลือกได้ว่าจะลงทะเบียนด้วย E-mail หรือเบอร์โทรศัพท์ก็ได้ โดยพื้นฐานระบบจะแสดงเป็นแบบ E-mail ก่อน แต่หากผู้ใช้งานต้องการสมัครด้วยเบอร์ ให้ผุ้ใช้งานกดที่คำว่า Or click here to sign up with phone number
เมื่อกด Or click here to sign up with phone number ระบบจะแสดงหน้าตาดังในภาพที่ 3
ทำการใส่อีเมลล์หรือเบอร์โทร เสร็จแล้วให้ผู้ใช้งานกดยินยอมข้อตกลง จากนั้นกด Next
ใส่ Verify code โดย Verify code จะได้รับจากอีเมลล์หรือข้อความทางเบอร์โทรที่ผู้ใช้งานใส่ไปในหน้า Create Account เมื่อใส่เสร็จแล้วให้กดปุ่ม Next
หากผู้ใช้งานไม่ได้รับ Verify code สามารถกดที่ Resend Code ได้เพื่อให้ระบบส่ง verify code ให้อีกครั้ง
หน้าต่อมาคือหน้า User Profile ให้ผู้ใช้งานทำการใส่ข้อมูลให้ครบ โดยข้อมูลในส่วนนี้ผู้ใช้งานสามารถเปลี่ยนแปลงได้ในภายหลัง เสร็จแล้วให้กดปุ่ม next
ในหน้าสุดท้าย หน้า Set Password ใส้ผู้ใช้งานใส่รหัสผ่าน โดยมีเงื่อนไขว่าต้องมากกว่า 8 ตัวหนังสือ และไม่เกิน 100 ตัวหนังสือ และต้องประกอบไปด้วยตัวพิมพ์เล็ก ตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวเลขและอักขระพิเศษ ส่วนในช่อง Confirm Password ให้ผู้ใช้งานใส่รหัสผ่านอีกรอบเพื่อยืนยัน จากนั้นกด Next
เมื่อพบกับหน้าดังภาพที่ 8 แสดงว่าผู้ใช้งานทำการสมัครบัญชีได้สำเร็จ ใส่ผู้ใช้งานกด Next ไปเรื่อยๆ ระบบจะทำการเข้าสู่ระบบให้อัตโนมัติหลังสมัครสำเร็จ ผู้ใช้งานจะพบกับหน้าหลักของ Center
ในหน้า แอพพลิเคชั่นของฉัน จะเป็นหน้าที่รวบรวมแอพพลิเคชันส่วนขยายต่างๆ โดยแอพพลิเคชันพื้นฐานแต่แรกจะมี File กับ Connect อยู่ ดังภาพ
สำหรับแพกเกจที่ที่สูงขึ้น จะมีแอพพลิชั่นเพิ่มเติมขึ้นมา ซึ่งแอพพลิเคชันเหล่านี้ สามารถทำการดาวน์โหลดได้จาก market place
พื้นที่จัดการเอกสารส่วนตัว (File) ของผู้ใช้งาน Center
File คือ File hub ของผู้ใช้งาน Center เอกสารต่างๆที่ถูกใช้งานในช่องแชทหรือโพสต์ ทั้งทาง center web application หรือ center application mobile จะถูกนำมารวบรวมไว้ที่นี่เช่นกัน โดยแรกเริ่มผู้ใช้งาน Center จะได้รับพื้นที่สำหรับจัดเก็บเอกสารต่างๆฟรี 10 กิกะไบต์ (10 GB) หรือหากผู้ใช้งานต้องการเพิ่มพื้นที่จัดเก็บ ก็สามารถแจ้งกับผู้ดูและระบบได้
การเข้าถึงไฟล์ส่วนตัว จะเข้าผ่านทาง My Apps และกดเข้า File
ในหน้าหลักของไฟล์ (My File) ที่ผู้ใช้งานจะพบหลังจากสมัคร Center ครั้งแรกจะมีหน้าตาดังนี้
ในหน้าแรก จะประกอบไปด้วย กล่องค้นหา (Search box) ปุ่มสร้างโฟลเดอร์ โฟลเดอร์ตั้งต้นที่มีชื่อ Folder ว่า Share file with me และแถบแสดงข้อมูลของพื้นที่จัดเก็บไฟล์ที่อยู่ด้านขวามือ ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีพื้นที่เหลือ 10 GB เพราะยังไม่มีการใช้งาน
การอัพโหลดเอกสารขึ้น Center
สำหรับการอัพโหลดเอกสารขึ้น File hub ใน Center ผู้ใช้งานสามารถอัพโหลดเอกสารได้ทุกชนิด ขั้นตอนอัพโหลดเอกสารสามารถทำตามได้ดังนี้
เมื่อเลือกเมนูอัพโหลดเอกไฟล์ (Upload Files) จะแสดง Pop up ให้เลือกไฟล์เพื่อทำการอัพโหลด
เลือกไฟล์ที่ต้องการอัพโหลด สามารถอัพโหลดได้ตั้งแต่ 1 ไฟล์หรือหลายไฟล์พร้อมๆกัน
เมื่อเลือกไฟล์ที่ต้องการอัพโหลดแล้ว จะแสดงหน้าต่างอัพโหลดไฟล์ แสดงรายละเอียดของไฟล์ที่เลือก ตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นกดปุ่ม “อัพโหลดไฟล์ (Upload Files)”
เมื่อกดปุ่ม “อัพโหลดไฟล์ (Upload Files)” จะทำการอัพโหลดไฟล์ โดยมีแถบสถานะบอก % การอัพโหลดไฟล์
เมื่ออัพโหลดเสร็จสิ้น กดปุ่ม “เสร็จแล้ว (Done)”
หลังจากนั้นจะเห็นเอกสารที่หน้า My Files
ในการอัพโหลดเอกสารมากกว่า 1 เอกสาร สามารถทำได้โดยกดที่ Icon upload ดังในรูป หน้าต่างแสดงเอกสารในเครื่องผู้ใช้งานจะแสดงขึ้นมาให้เลือกเอกสารอีกครั้ง เลือกเอกสารที่ต้องการแล้วทำซ้ำได้อีกหลายครั้งเพื่ออัพโหลดเอกสารหลายไฟล์
เลือกไฟล์ที่ต้องการอัพโหลดแล้ว ให้ตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นกดปุ่ม “อัพโหลดไฟล์ (Upload Files)”
เมื่อกดปุ่ม “อัพโหลดไฟล์ (Upload Files)” จะทำการอัพโหลดไฟล์ โดยมีแถบสถานะบอก % การอัพโหลดไฟล์ทุกไฟล์ และด้านล่างมี % ของการอัพโหลดไฟล์ทั้งหมด
เมื่ออัพโหลดทุกไฟล์เสร็จสิ้น กดปุ่ม “เสร็จแล้ว (Done)”
หลังจากนั้นจะเห็นไฟล์ที่ทำการอัพโหลดที่หน้า My File โดย 4 ไฟล์ล่าสุด จะแสดงที่ Recent Files
หากต้องการดูไฟล์ทั้งหมดให้เลื่อนลงมาด้านล่าง จะเห็นส่วนของ Files โดยไฟล์ทั้งหมดที่ทำการอัพโหลดจะแสดงในส่วนนี้
เครื่องมือแสดงข้อมูลของไฟล์ส่วนตัว
สำหรับแถบเครื่องมือที่อยู่ทางขวามือของหน้า My Files จะเป็นเครื่องมือที่บอกข้อมูลการใช้พื้นที่ของไฟล์ส่วนตัวว่าเหลือพื้นที่อยู่เท่าไหร่ และพื้นที่ถูกใช้ไปแล้วเท่าไหร่ โดยจะมีแยกการใช้พื้นที่ข้อมูลตามหมวดหมู่อีกด้วย ซึ่งแบ่งหมวดหมู่ของไฟล์จะมีทั้งหมด 8 หมวดหมู่ ได้แก่
พื้นที่รวบรวมไฟล์สำหรับรูปภาพ
เมื่อกดเข้ามาใน Image จากแถบบอกสถานะพื้นที่ไฟล์ส่วนตัว ผู้ใช้งานจะพบกับไฟล์รูปภาพต่างๆที่อยู่ภายในไฟล์ส่วนตัว ไฟล์รูปภาพทุกไฟล์จะถูกนำมารวบรวมไว์ที่นี้ ซึ่งจะมีทั้งไฟล์ .jpg .gif .jpeg .png และไฟล์รูปภาพอื่นๆ
พื้นที่รวบรวมไฟล์สำหรับวิดีโอ
ไฟล์วิดีโอทุกไฟล์จะถูกนำมารวบรวมไว์ที่นี้
พื้นที่รวบรวมไฟล์สำหรับเอกสาร
เมื่อกด Document จากแถบบอกสถานะพื้นที่ไฟล์ส่วนตัว ผู้ใช้งานจะพบกับไฟล์เอกสารต่างๆที่อยู่ภายในไฟล์ส่วนตัว ไฟล์เอกสารทุกไฟล์จะถูกนำมารวบรวมไว์ที่นี้ ซึ่งจะมีทั้งไฟล์ .pdf .xlsx .docx .pptx และไฟล์เอกสารอื่นๆ
พื้นที่รวบรวมไฟล์สำหรับไฟล์อื่นๆ
ไฟล์ที่ไม่เข้าข่ายไฟล์รูปภาพ ไฟล์เอกสาร หรือไฟล์วิดีโอ จะถูกนำมารวบรวมไว้ที่ Other files
พื้นที่สำหรับเก็บไฟล์ต่างๆที่ไม่สามารถระบุได้
สำหรับไฟล์ที่ไม่สามารถระบุได้ จะถูกนำมารวบรวมไว้ที่ส่วนของ Unknown Files
การจัดการเอกสารต่างๆให้เป็นระเบียบอีกอย่างคือการเคลื่อนย้ายเอกสารหรือโฟลเดอร์ได้ ผู้ใช้งานสามารถย้ายไฟล์และโฟลเดอร์ได้ตามขั้นตอนต่อไปนี้
การย้ายไฟล์ สามารถทำได้โดยไปยังไฟล์ที่ผู้ใช้งานต้องการย้าย จากนั้นคลิกที่ Kebab menu แล้วจะเห็นเมนู Move แสดงขึ้นมา ให้ผูั้ใช้งานคลิกที่ Move
จะมีหน้าต่างแสดง Folder ต่างขึ้นๆมา ให้ผู้ใช้งานเคลื่อนเม้าส์ไปยัง Folder ที่ต้องการจะย้ายไฟล์ไป
จะมีลูกศรแสดงขึ้นมาหลังโฟลเดอร์นั้น ให้ทำการกดเพื่อเปิดเข้าไปในโฟลเดอร์
จากนั้นกดปุ่ม Move หากหน้าจอถูกปิดตัวลง แสดงว่าการย้ายไฟล์สำเร็จแล้ว
ไปยังหน้าโฟลเดอร์ที่ได้ทำการย้ายไฟล์ จะพบไฟล์ที่ผู้ใช้งานทำการย้ายมาอยู่ที่โฟลเดอร์
การย้ายโฟลเดอร์ จะมีขั้นตอนเหมือนกันกับการย้ายไฟล์ ให้ผู้ใช้งานคลิกที่ Kebab menu ของโฟลเดอร์ที่ต้องการย้ายเพื่อเลือกย้ายโฟลเดอร์
เลือกเมนู “Move”
เลือกตำแหน่งที่ต้องการย้ายไป จากนั้นกดปุ่ม “Move”
โฟลเดอร์ (Folder) ที่เลือก ถูกย้ายมาอยู่ในตำแหน่งที่เลือกไว้
ไฟล์ของกลุ่มที่ผู้ใช้งานเข้าร่วม
ในหมวดหมู่ของ group เมื่อเปิดเข้ามาจะไม่ได้พบกับไฟล์โดยตรง แต่จะพบกับหน้ากลุ่มต่างๆที่ผู้ใช้งานได้เป็นสมาชิกภายในกลุ่ม ผู้ใช้งานสามารถกดเข้าหน้า Files ของกลุ่มต่างๆได้ที่หน้านี้
การลบไฟล์และโฟลเดอร์บน Center
การลบไฟล์ สามารถทำได้โดยการไปที่ไฟล์ที่ต้องการจะลบ จากนั้นคลิกที่ Kebab menu ที่อยู่ด้านหลังของ File จะมีเมนู Delete ขึ้นมาให้เลือก ให้คลิก
จากนั้นจะมีหน้าต่างยืนยันการลบไฟล์ หากมั่นใจว่าต้องการลบ ให้กดที่ปุ่ม OK แต่หากไม่ต้องการที่จะลบไฟล์แล้ว ให้เลือกที่ปุ่ม Cancel
การลบโฟลเดอร์จะเหมือนกับการลบไฟล์ ผู้ใช้งานสามารถลบได้โดยคลิกที่ Kebab menu บนโฟลเดอร์ที่เราต้องการลบ จากนั้นกดลบ
จากนั้นจะมีหน้าต่างยืนยันการลบ หากมั่นใจว่าต้องการลบ ให้กดที่ปุ่ม OK แต่หากไม่ต้องการที่จะลบ์แล้ว ให้เลือกที่ปุ่ม Cancel
โฟลเดอร์ (Folder) หายไปจากหน้า My File และอยู่ในถังขยะ
พื้นที่แสดงไฟล์สื่อโดยเฉพาะ
Media
ในส่วนของสื่อ (Media) มีไว้แสดงไฟล์รูปภาพหรือวีดีโอโดยเฉพาะ ผู้ใช้งานสามารถกดดูและดาวน์โหลดได้ ส่วนของสื่อจะอยู่ข้างๆกับ Files เมื่อเปิดมาก็จะพบกับไฟล์สื่อต่างๆ
เมื่อกดที่สื่อรูปภาพ ระบบจะแสดงรูปภาพขนาดจริงขึ้นมา ดังรูป
สำหรับสื่อวิดีโอ จะมีฟีเจอร์เพิ่มเติมให้ใช้ ผู้ใช้งานสามารถกดที่ Kebab menu (…) ที่มุมขวาล่างของวีดีโอ
ผู้ใช้งานจะพบกับเมนู “Download”, “Playback Speed” และ “Picture in Picture”
กดเมนู “Download”
ทำการดาวน์โหลดวีดีโอที่เลือก
เลือกเมนู “Playback Speed”
จะแสดงตัวเลือกความเร็วของวีดีโอ เลือกความเร็วที่ต้องการ จากนั้นวีดีโอจะเล่นตามความเร็วที่เลือก
เลือกเมนู “Picture in Picture”
จะแสดงวีโอเป็นหน้าต่างขนาดเล็ก เมื่อกดไปหน้าอื่นก็จะยังเห็นวีดีโอแสดงอยู่
นอกจากดาวน์โหลดสื่อทีละไฟล์แล้ว ผู้ใช้งานยังสามารถทำการดาวน์โหลดทีละหลายๆไฟล์ได้ ด้วยการลากเคอร์เซอร์ไปที่มุมขวาบนของไฟล์ จะมีลูกศรขึ้นมา ให้ผู้ใช้ทำการคลิก โดยจะคลิกกี่ไฟล์ก็ได้ และเมื่อสังเกตุที่มุมขวาล่างของหน้าจอ ก็จะพบกับข้อความ Download Cancel ซึ่งหากกด Download ก็จะเป็นการดาวนฺโหลดไฟล์สื่อลงมาที่เครื่องคอมพิวเตอร์
เมื่อกดดาวน์โหลด จะแสดงแถบข้อมูลการดาวน์โหลด และไฟล์ที่ทำการดาวน์โหลดจะถูกดาวน์โหลดลงมาในรูปแบบไฟล์ .zip
การแบ่งปันเอกสารในรูปแบบต่างๆ
ทุกไฟล์เอกสารที่อยู่ภายใน Center ผู้ใช้งานสามารถทำการแบ่งปันเอกสารไปได้ในรูปแบบต่างๆ ดังนี้
การแบ่งปันเอกสารภายใน Platform Center
การแบ่งปันเอกสารในรูปแบบ Link
ผู้ใช้งานสามารถทำการแบ่งปันเอกสารไปยังผู้ใช้งานคนอื่นใน Center หรือ กลุ่มที่เราเป็นสมาชิกอยู่ได้โดยการกดที่ Kebab menu ที่ไฟล์ที่เราต้องการแบ่งปัน จากนั้นจะมี list แสดงขึ้นมา ให้ผู้ใช้งานเลื่อนไปที่ แชร์ จากนั้นจะแสดงตัวเลือกการแชร์ขึ้นมาดังในภาพ
จากนั้นเลือกที่ Share file to .. จะมีหน้าต่างแสดงรายชื่อของกลุ่มและเพื่อนขึ้นมา
ผู้ใช้งานยังสามารถทำการค้นหากลุ่มหรือเพื่อนได้โดยการพิมพ์ในช่องค้นหา
เมื่อเจอกลุ่มหรือเพื่อนที่เราต้องการแบ่งปันเอกสารไปให้แล้ว ให้คลิกที่รายชื่อที่เราต้องการแบ่งปันเอกสาร จะมีลูกศรแสดงบนรายชื่อที่เราเลือก และปุ่มแชร์จะแสดงขึ้นมาให้กด เมื่อผู้ใช้กดแชร์ ระบบจะโหลดสักครู่ก่อนจะปิดตัวหน้าต่างรายชื่อลง ซึ่งแสดงว่าผู้ใช้งานแบ่งปันเอกสารสำเร็จแล้ว
โดยเอกสารที่เราแบ่งปันจะไปแสดงในแชท และ โฟลเดอร์แชร์กับฉัน ของกลุ่มหรือเพื่อนที่เราแบ่งปันไป
สำหรับการแบ่งปันเอกสารในรูปแบบ Link จะสามารถแบ่งปันได้ 2 รูปแบบความเป็นส่วนตัวได้แก่
Anyone with the link - ทุกคนที่มี link สามารถเข้าถึงเอกสารนั้นได้หากมี link
Specific people - คนที่เจ้าของเอกสารระบุไว้เท่านั้นและมี link ถึงจะสามารถเข้าถึงเอกสารได้ หากใครที่มี link นี้แต่ไม่ได้รับการคัดเลือกจากเจ้าของเอกสาร เมื่อเปิดมาก้จะไม่มีสิทะิ์เข้าถึงเอกสาร
ในการแบ่งปันเอกสารในรูปแบบ Link ผู้ใช้งานสามารถทำได้โดยการเข้าถึงการแชร์เหมือนการแบ่งปันเอกสารภายใน Platform Center แต่เพียงเปลี่ยนเป็นเลือกเป็น เผยแพร่ลิ้งค์
เมื่อกดที่เผยแพร่ลิ้งค์แล้ว จะมีหน้าต่างแสดงขึ้นมาดังภาพ โดยค่าตั้งต้นของการเผยแพร่ลิ้งค์จะเป็น ทุกคนที่มีlink นี้จะสามารถเข้าถึงเอกสารนี้ได้ ให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่มคัดลอกลิ้งค์เพื่อคัดลอกส่งให้แก่คนที่เราต้องการส่ง link เอกสารให้
เมื่อผู้ใช้งานส่ง link ให้แก่ผู้ที่เราอยากแบ่งปัน หากผู้ที่ได้รับ link ได้ทำการเข้าสู่ระบบ center ไว้อยู่แล้ว ระบบจะแสดงหน้าดังภาพ ผู้ที่ได้รับ link ก็จะสามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้เลย แต่หากคนที่เราทำการส่ง link ให้ยังไม่ได้เข้าสู่ระบบ Center ไว้ ระบบจะแสดงหน้าเข้าสู่ระบบให้ผู้ที่ได้รับ link เข้าสู่ระบบก่อน
ในการแบ่งปัน link เอกสารแบบระบุผู้มีสิทธิ์เข้าถึง ให้เลือกที่ Specific people เมื่อเลือกแล้วจะมี search box แสดงขึ้นมา ดังภาพ
ผู้ใช้งานสามารถค้นหาเพื่อนที่เราต้องการแบ่งปันเอกสารแบบ link ได้ที่ search box นี้
เมื่อพบรายชื่อเพื่อนที่เราต้องการแบ่งปันเอกสารให้คลิกที่รายชื่อนั้น ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเลือกรายชื่อเพื่อนได้หลายคน เมื่อเลือกเสร็จรายชื่อจะแสดงตามภาพ จากนั้นให้กดคัดลอกลิ้งค์ แล้วส่ง link ให้เพื่อนที่เราต้องการแบ่งปันเอกสาร
เพื่อนที่เราระบุไว้ว่าสามารถเข้าถึงเอกสารได้ ก็จะสามารถมองเห็นเอกสารและดาวน์โหลดได้ แต่หากมีการส่ง link ต่อให้กับคนที่เจ้าของเอกสารไม่ได้มอบสิทธิ์ให้ เมื่อเปิด link มาก็จะแสดงหน้าไม่สามารถเข้าถึงเอกสารได้
สำหรับการแบ่งปันโฟสเดอร์ภายใน Center ตอนนี้ทาง center จะรองรับเพียงการแบ่งปันโดยการแบ่งปันผ่าน link เท่านั้น สำหรับการแบ่งปันโฟลเดอร์ ผู้ใช้งานสามารถทำได้โดยการคลิก Kebab menu ที่โฟลเดอร์ จากนั้นจะเห็นตัวเลือกแสดงขึ้นมา ให้ผู้ใช้งานเลือกที่ รายละเอียด
เมื่อกดที่รายละเอียดแล้ว จะมีแถบแสดงรายละเอียดขึ้นมาด้านขวามือ จะเห็นรายละเอียดต่างๆของโฟลเดอร์ ให้ผู้ใช้งานกดที่ Icon link ดังรูป
จากนั้นจะมีหน้าต่าง คัดลอกลิ้งค์ แสดงขึ้นมา ซึ่งการทำงานโดยภาพรวมจะเหมือนกับ การแบ่งปันเอกสารในรูปแบบ Link ผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าและกดคัดลอกลิ้งค์เพื่อแบ่งปันโฟลเดอร์แก่ผู้ใช้งานอื่นได้เลย
สำหรับการดาวน์โหลดโฟลเดอร์จาก link ผู้ใช้งานจะได้รับเป็น file.zip
ถังขยะที่เป็นพื้นที่จัดการไฟล์และโฟลเดอร์ต่างๆที่ถูกลบ
สำหรับไฟล์และโฟลเดอร์ทีถูกลบภายใน Center ทั้งหมดจะถูกลบเพียงชั่วคราวและย้ายจากโฟลเดอร์ต่างๆไปอยู่ภายในโฟลเดอร์ถังขยะ (Trash) ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงโฟลเดอร์ถังขยะได้จากแถบข้อมูลพื้นที่ด้านข้างดังในภาพ
ภายในถังขยะจะมีไฟล์และโฟลเดอร์ที่ผู้ใช้งานลบไว้แสดงอยู่ ในส่วนนี้ผู้ใช้งานสามารถจัดการไฟล์และโฟลเดอร์ในนี้ได้ 2 อย่าง ได้แก่
ลบถาวร (Delete forever)
กู้คืน (Restore)
ผู้ใช้งานสามารถลบไฟล์และโฟลเดอร์ได้อย่างถาวรโดยการกดที่ Kebab menu ของไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการลบจากนั้นจะมีตัวเลือกแสดงขึ้นมา ให้เลือกที่ ลบถาวร
ข้อควรระวัง หากผู้ใช้งานเลือกลบถาวร ไฟล์และโฟลเดอร์ที่ลบจะไม่สามารถกู้คืนมาได้อีก
หากผู้ใช้งานต้องการกู้คืนไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ลบไปแล้วกลับคืนมา สามารถทำได้โดยกดที่ Kebab menu ของไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการกู้คืน แล้วเลือก กู้คืน
Connect เป็นฟีเจอร์ส่งข้อความส่วนตัว โดยผู้ใช้งานสามารถส่งข้อความ รูปภาพ ไฟล์งาน ข้อความเสียง หรือคอลส่วนตัวกับเพื่อนหรือกลุ่มได้ โดยฟีเจอร์ connect จะอยู่ใน My Apps ดังภาพที่ 1
ด้านซ้ายมือ จะแสดงประวัติการพูดคุยต่างๆ ให้ผู้ใช้งานกดที่รายชื่อที่ต้องการติดต่อ แล้วระบบจะแสดงหน้าห้องแชท
API สำหรับเรียกใช้ผ่าน REST API ได้
Center ได้มีการให้บริการ API สำหรับ File เพื่อให้ภายนอกเรียกใช้งานผ่าน REST API ได้
ตัวอย่างการทำงานร่วมกับส่วนกระบวนการทางธุรกิจ
สำหรับการทำงานร่วมกับส่วนกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Management : BPM) ผู้ใช้งานสามารถใช้ API ที่อยู่ในส่วน Standard API มาทำงานร่วมกับ โหนด web service บน Process design ได้ ในส่วนของบทความนี้จะยกตัวอย่างการทำงานร่วมกับส่วนกระบวนการทางธุรกิจของกรณี การสร้างโฟลเดอร์ บน Center
ในขั้นตอนแรก ให้ผู้ใช้งานสร้าง Process บน Appspace จากนั้นทำการสร้างตัวแปรทางธุรกิจ (Business Object ) ให้สอดคล้องกับตัวแปร API ของ Center สำหรับการสร้างโฟลเดอร์ จำเป็นต้องมีข้อมูลฝั่งขาเข้า จึงต้องสร้างตัวแปรฝั่งขาเข้า ส่วนขาออกนั้นจะสร้างหรือไม่ก็ได้ ในตัวอย่างจะทำการสร้างข้อมูลฝั่งขาออกให้ดู ดังในภาพ
เมื่อลากวางวัตถุต่างๆเสร็จเรียบร้อย ให้กดคลิกสองครั้งที่ตัวโหนด web service เพื่อทำการตั้งค่า
ใส่ข้อมูล API ให้กับ Web service ในภาพจะเห็นว่าข้อมูล API สำหรับการสร้างโฟลเดอร์จำเป็นต้องมี Token เพื่อ Authentication ผู้ใช้งานสามารถปรับวิธีการเขียนได้ สำหรับในตัวอย่างนี้จะทำการใส่ข้อมูลโดยตรง
หลังจากใส่ข้อมูลให้กับโหนด web service เสร็จเรียบร้อย ให้ผู้ใช้งานทำการเชื่อมต่อระหว่างตัวแปรทางฝั่งธุรกิจกับตัวแปรฝั่ง API โดยการคลิกที่ Open mapping parameter
จากนั้นกดบันทึก Work flow ทำการปรับใช้กระบวนการ (Deploy) ด้วยการกดที่ Choose Deploy แล้วเลือก Deploy
จะมีหน้าต่างให้เลือกการปรับใช้ขึ้นมา เลือกการปรับใช้แล้วทำการกดปุ่ม Deploy
เมื่อปรับใช้สำเร็จ ให้ไปที่หน้า Simulation test
ใส่ข้อมูลให้ฝั่งขาเข้า แล้วกด Start
จากนั้นกระบวนการจะทำงาน และแสดงค่าฝั่งขาออก ออกมา หรือก็คือผลลัพท์
เป็นพื้นที่สำหรับการสร้างกลุ่มสำหรับติดต่อกันภายในองค์กรหรือชุมชน
ในส่วนของ My groups จะแสดงกลุ่มต่างๆที่มีอยู่ภายในเครือข่าย โดยผู้ใช้งานสามารถค้นหา เข้าร่วม หรือสร้างกลุ่มได้ในส่วนนี้ ในหน้านี้จะแบ่งออกเป็น 5 ส่วน คือ 1. ค้นหากลุ่ม 2. การสร้างกลุ่ม 3. Public 4.My groups 5. Favorite
ส่วนของการค้นหากลุ่มจะอยู่ที่ด้านบนของหน้า ดังที่แสดงในภาพ ผู้ใช้งานสามารถค้นหากลุ่มได้โดยการใส่ชื่อของกลุ่มที่ Search box หรือสามารถค้นหากลุ่มจากรูปแบบของกลุ่มได้โดยใช้ Filter
หากผู้ใช้ต้องการค้นหากลุ่มจากรูปแบบของกลุ่มสามารถทำได้ด้วยการกดที่ Icon ที่มุมขวาของ search box
ผู้ใช้งานสามารถสร้างกลุ่มขึ้นมาเองได้โดยการคลิกที่ปุ่ม Create group (หรือปุ่ม สร้างกลุ่ม ในภาษาไทย) โดยที่ปุ่มจะอยู่ด้านขวาของ Search box ดังในภาพ
เมื่อกดสร้างกลุ่มแล้ว จะแสดงหน้าดังภาพ ข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการสร้างกลุ่มจะมีเพียงชื่อ และรูปภาพที่มีขนาด 512x512 pixels ขึ้นไป เมื่อใส่ข้อมูลทั้ง 2 ส่วนนี้แล้ว Icon ลูกศรจะแสดงสีขึ้นมา ผู้ใช้งานสามารถกดตรง Icon นี้เพื่อสร้างกลุ่มได้เลย ส่วนการตั้งค่ารูปแบบกลุ่มจะมี 3 ส่วน คือประเภทของกลุ่ม หมวดหมู่ และความเป็นส่วนตัวของกลุ่ม ซึ่งประเภทของกลุ่มจะแบ่งออกเป็น 3 แต่ละประเภทจะมีการทำงานที่ต่างกัน ได้แก่
ในด้านหมวดหมู่ของกลุ่มจะมีให้เลือก 5หมวดหมู่ คือ Family Work Buddy Clups Business และเราสามารถเลือกความเป็นส่วนตัวของกลุ่มได้ 3 รูปแบบ ได้แก่
ในส่วนของ Public จะเป็นส่วนการแสดงของกลุ่มทั้งหมดที่เรายังไม่ได้เข้าร่วมกลุ่ม เป็นกลุ่มที่ผู้ใช้งานคนอื่นๆสร้างไว้ โดยกลุ่มที่แสดงจะมีทุกประเภท แต่มีความเป็นส่วนตัวเป็น Public closed-group และ Public open-group
ส่วนของหน้า My Groups จะแสดงแค่กลุ่มที่เราเข้าร่วมแล้วเท่านั้น ในหน้านี้จะแสดงกลุ่มทุกรูปแบบและทุกความเป็นส่วนตัว
ในส่วนของหน้านี้ จะแสดงแค่กลุ่มที่เราเข้าร่วมและทำการกดถูกใจเอาไว้เท่านั้น
จากนั้นให้ผู้ใช้งานกดเลือกว่าจะลบรายการใด เสร็จแล้วกดที่สัญลักษณ์ เพื่อทำการลบ
เมื่อผู้ใช้งานพบโพสต์ที่ต้องการบันทึกไว้อ่านภายหลัง ให้ผู้ใช้งานกดที่ไอคอนนี้ของโพสต์ แล้วโพสต์นั้นจะถูกเก็บรวบรวมเอาไว้ในพื้นที่จัดเก็บโพสต์ ผู้ใช้งานสามารถเข้าไปดูโพสต์ที่เราบันทึกไว้ได้ใน My Center ซึ่งจะอยู่ในแท็บ Save ดังภาพ
เมื่อพบโพสต์ที่ถูกใจ ผู้ใช้งานสามารถโต้ตอบกับเจ้าของโพสต์ให้ได้รับรู้ว่าคุณชอบโพสต์ของเขาได้ด้วยการกดถูกใจที่ไอคอน ใต้โพสต์ โดยเมื่อกดถูกใจ สัญลักษณ์ของไอคอนจะแสดงเป็นสีแดง ดังภาพ และผู้ใช้งานยังสามารถเห็นได้ด้วยอีกว่ามีใครบ้างที่กดถูกใจโพสต์นี้
หากผู้ใช้งานต้องการแสดงความคิดเห็นต่อโพสต์ สามารถทำได้ด้วยการที่ไอคอน ใต้โพสต์นั้น เมื่อกดแล้วจะมีหน้าต่างให้แสดงความคิดเห็นแสดงขึ้นมาด้านข้าง ดังภาพ หากผู้ใช้งานต้องการแสดงความคิดเห็นด้วยข้อความ ผู้ใช้งานสามารถพิมพ์ข้อความที่ช่อง แล้วกด Enter ได้เลย
นอกจากการพิมพ์ข้อความแล้ว ผู้ใช้งานยังสามาถแสดงความคิดเห็นโดยใช้สติกเกอร์ หรือแสดงความคิดเห็นด้วยรูปภาพได้ด้วย หากต้องการใส่สติกเกอร์ ให้ผู้ใช้งานกดที่ไอคอน จากนั้นจะมีรายการสติกเกอร์แสดงขึ้นมา ให้ผู้ใช้งานกดที่สติกเกอร์ที่ต้องการส่ง จากนั้นสติกเกอร์จะแสดงที่ Comment
การแสดงความเห็นด้วยรูปภาพ สามารถทำได้โดยกดที่ไอคอน จากนั้นจะมีหน้าต่างให้เลือกรูปภาพแสดงขึ้นมา ให้ผู้ใช้งานเลือกภาพที่ต้องการแล้วกดตกลง
ให้ผู้ใช้งานทำการเลือกตำแหน่งที่ต้องการจากรายชื่อตำแหน่งที่แสดงขึ้น โดยผู้ใช้งานสามารถเลื่อนสกอร์ขึ้นลงเพื่อเลื่อนดูรายการตำแหน่งทั้งหมด เมื่อเลือกได้แล้ว ให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่ม เพื่อทำการเช็คอิน แล้วระบบจะมีแจ้งเตือนขึ้นมาเพื่อบอกว่าผู้ใช้งานทำการเช็คอินที่ใด วันไหนและเวลาใด
ผู้ใช้งานสามารถพิมพ์ข้อความได้ที่ช่องข้อความ และกด Enter หรือ ไอคอน เพื่อกดส่งข้อความ
นอกจากข้อความแล้ว ผู้ใช้งานยังสามารถส่งรูปภาพได้โดยกดที่ไอคอน ระบบจะแสดงหน้าต่างให้เลือกรูปภาพภายในเครื่อง
เมื่อต้องการส่งไฟล์เอกสารอย่างอื่น ผู้ใช้งานสามารถส่งได้โดยการกดที่ไอคอน จากนั้นระบบจะแสดงหน้าต่างให้เลอกไฟล์ ให้ผู้ใช้งานกดเลือกไฟล์แล้วกดตกลง ไฟล์จะถูกส่งหาคู่สนทนา
สำหรับการส่งข้อความเสียง ให้ผู้ใช้งานกดที่ไอคอน แล้วกดที่ Pop up ที่แสดงขึ้นมา ระบบจะเริ่มอัดเสียง เมื่อพูดจบ ให้กดที่ Pop up อีกรอบ ระบบจะทำการส่งข้อความเสียงไปยังคู่สนทนา
เมื่อสร้างตัวแปรทางธุรกิจสำเร็จ ให้กดบันทึกข้อมูล จากนั้นเปิดไปที่หน้า workflow เพื่อทำการออกแบบ การทำงาน ในการออกแบบขั้นตอนการทำงานก็ให้ทำการลากวางวัตถุตามดังภาพ สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมสามารถเรียนรู้ได้ที่ฝั่งคู่มือ
Post
https://centerapp.io/FileService/upload
Upload file
Post
https://centerapp.io/FileService/createFolder
Create folder
Post
https://centerapp.io/FileService/rename
Rename
Post
https://centerapp.io/FileService/moveFileToTrash
Move file or folder to trash
Get
https://centerapp.io/FileService/getFiles?groupId=&offset=0&limitOfset=&parentFolderId={parent_folder_id}=
Get file or folder
Get
https://centerapp.io/FileService/getFiles?groupId={group_id}&parent_folder_id={parent_folder_id}&offset=0&limitOfset=30&parentFolderId={parentFolderId}
Get list file by group
Get
https://centerapp.io/FileService/downloadFile?fileId={fileId}
Get download file
API URL: {domain}/FileService/createFolder
METHOD: POST
Header:
Query Params:
offset
limitOfset
parentFolderId
Body:
Parameter Desc:
fileName คือ ชื่อของ folder ที่จะสร้าง
Response:
จะได้ folder id จาก file_app_id เพื่อนำมาใช้งานต่อได้
Sample Request:
API URL: {domain}/FileService/uploadFile
METHOD: POST
Header:
Form Data:
file
parent_folder_id
filename
groupId
Parameter Desc:
file คือไฟล์ที่เป็น blob
parent_folder_id คือ id ของ folder ที่จะอัพโหลดเข้า ถ้าอัพโหลดไว้ root ไม่ต้องส่ง id
filename คือ ชื่อของไฟล์
Response:
จะได้ file id จาก file_app_id เพื่อนำมาใช้งานต่อได้
Sample Request:
API URL: {domain}/FileService/rename
METHOD: POST
Header:
Body:
Parameter Desc:
renameTo คือ ชื่อใหม่ของ folder/file ที่จะเปลี่ยนชื่อ
oldName คือ ชื่อเก่าของ folder/file ที่จะเปลี่ยนชื่อ
fileId คือ id ของ folder/file ที่จะเปลี่ยนชื่อ
Response:
จะได้ข้อมูล folder/file ที่แก้ไขชื่อแล้ว
Sample Request:
API URL: {domain}/FileService/getFiles?offset=0&limitOfset=30&parentFolderId=
METHOD: GET
Header:
Query Params:
Parameter Desc:
offset คือ ต่ำแหน่งเริ่มต้นที่จะดึงไฟล์
limitOfset คือ จำนวนการดึงไฟล์
parentFolderId คือ id ของ folder ที่จะอดึงไฟล์ ถ้าดึงจาก root ไม่ต้องส่ง id
Response:
Sample Request:
API URL: {domain}/FileService/getFiles?groupId=xxx&offset=0&limitOfset=30&parentFolderId=
METHOD: GET
Header:
Query Params:
Parameter Desc:
groupId the community/ group id
offset คือ ต่ำแหน่งเริ่มต้นที่จะดึงไฟล์
limitOfset คือ จำนวนการดึงไฟล์
parentFolderId คือ id ของ folder ที่จะอดึงไฟล์ ถ้าดึงจาก root ไม่ต้องส่ง id
Response:
Sample Request:
API URL: {domain}/FileService/download?fileId=xxx
METHOD: GET
Header:
Query Params:
Parameter Desc:
fileId คือ id ของ file ที่จะดาวน์โหลด
Response:
จะได้ stream file
Sample Request:
API URL: {domain}/FileService/moveFileToTrash
METHOD: POST
Header:
Body:
Parameter Desc:
fileId คือ id ของ folder/file ที่จะลบไปยังถังขยะ
Response:
Sample Request:
API URL: {domain}/FileService/getFilesInTash?offset=0&limitOfset=30
METHOD: GET
Header:
Query Params:
Parameter Desc:
offset คือ ต่ำแหน่งเริ่มต้นที่จะดึงไฟล์
limitOfset คือ จำนวนการดึงไฟล์
Response:
จะได้ file_app_id และ file_path เพื่อนำมาใช้งานต่อได้
API URL: {domain}/FileService/deleteFromTrash
METHOD: POST
Header:
Body:
Parameter Desc:
fileId คือ id ของ folder/file ที่จะลบออกจากยังถังขยะ
Response:
API URL: {domain}/FileService/restore
METHOD: POST
Header:
Body:
Parameter Desc:
fileId คือ id ของ folder/file ที่จะ restore ออกจากยังถังขยะ
Response:
ตั้งค่ากลุ่ม (Setting group) ในส่วนฟีเจอร์นี้สามารถเข้าถึงได้โดยตำแหน่งเจ้าของกลุ่มหรือ แอดมินกลุ่ม
ในส่วนของการตั้งค่ากลุ่ม ผู้ใช้ที่มีสิทธิ์เข้าถึงฟีเจอร์นี้ของกลุ่มจะต้องมีตำแหน่งเป็นเจ้าของกลุ่มหรือผู้ดูแลกลุ่ม ในส่วนนี้เจ้าของหรือผู้ดูแลสามารถที่จะเปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนรูป หรือปรับความเป็นส่วนตัวของกลุ่มได้
ไฟล์ (File) พื้นที่จัดเก็บเอกสารต่างๆที่ถูกใช้งานภายในกลุ่ม
ในฟีเจอร์ไฟล์ จะเป็นฟีเจอร์สำหรับจัดการไฟล์ต่างๆที่ถูกใช้กันภายในกลุ่ม ซึ่งในฟีเจอร์ไฟล์ก็จะมีฟีเจอร์ย่อยๆที่มีการทำงานเหมือนกับไฟล์ส่วนตัว ผู้ใช้งานสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับไฟล์ได้ที่ส่วนของ ซึ่งความต่างของไฟล์กลุ่มและไฟล์ส่วนตัวจะต่างกันเพียงแค่ ไฟล์กลุ่ม สมาชิกทุกคนในกลุ่มจะมีสิทธิ์เข้าถึงไฟล์ต่างๆในกลุ่ม แต่ไฟล์ส่วนตัวจะมีเพียงเจ้าของที่เข้าถึงได้ ในส่วนนี้จะขอทำการอธิบายการทำงานต่างๆเพียงคร่าวๆ
การเข้าถึงหน้า File ของกลุ่ม ผู้ใช้งานสามารถเปิดได้โดยกดที่ Icon รูปไฟล์ดังในภาพ
เมื่อเปิดมาจะพบกับหน้า File ที่ด้านบนจะแสดงชื่อของกลุ่ม หน้าตาโดยรวมของไฟล์กลุ่มแบบแชท จะเหมือนกับหน้าไฟล์ส่วนตัว
การแสดงตำแหน่งของสมาชิกในกลุ่ม
สำหรับฟีเจอร์ตำแหน่งของกลุ่ม จะเป็นส่วนที่บอกว่าสมาชิกในกลุ่มทำการเช็คอินครั้งล่าสุดที่ไหน ซึ่งสมาชิกสามารถตั้งค่าการแสดงการเช็คอินได้บน Center mobile จึงไม่ต้องกังวลเรื่องความเป็นส่วนตัว
สำหรับเข้าดูการเช็คอินครั้งล่าสุดของสมาชิกคนอื่นๆในกลุ่ม สามารถเปิดดูได้โดยการคลิกที่ Icon location ตามในรูป
เมื่อเปิดเข้ามาจะพบกับจุดสีฟ้า ซึ่งจะเป็นการแสดงตำแหน่งการเช็คอินครั้งล่าสุดของผู้ใช้งานเอง ให้ทำการเลื่อนเม้าส์เข้าเพื่อดูตำแหน่งการเช็คอินครั้งล่าสุดของสมาชิก
ผู้ใช้งานสามารถกดดูตำแหน่งของสมาชิกคนอื่นๆในกลุ่มได้โดยการคลิกที่รูปโปรไฟล์ จะมีหน้าต่างแสดงตำแหน่งเช็คอินครั้งล่าสุดแสดงขึ้นมา
กลุ่มรูปแบบข้อความ
กลุ่มรูปแบบ Messaging (หรือกลุ่มรูปแบบ ข้อความ ในภาษาไทย) จะเป็นกลุ่มที่มีเฉพาะแชท ภายในแชทจะมีฟีเจอร์ต่างๆดังนี้
จากแถบด้านบน จะมีฟีเจอร์8 ฟีเจอร์ ได้แก่
ตั้งค่าสมาชิก (Setting member)
ตั้งค่ากลุ่ม (Setting group) - เข้าถึงได้โดยตำแหน่ง แอดมิน หรือ เจ้าของกลุ่ม
ไฟล์ (File)
ตำแหน่ง (Location)
การเชิญเพื่อนเข้ากลุ่ม (Invite friend) - เข้าถึงได้โดยตำแหน่ง แอดมิน หรือ เจ้าของกลุ่ม
การโทรแบบกลุ่ม (Call group)
การโทรกลุ่มแบบวิดีโอ (Video Conference)
ลบกลุ่ม (Delete group) - เข้าถึงได้โดยตำแหน่ง แอดมิน หรือ เจ้าของกลุ่ม
ส่วนฟีเจอร์การส่งข้อความ ไฟล์ สติกเกอร์ ข้อความเสียง หรือการจัดการข้อความ ในส่วนตรงนี้การทำงานของฟีเจอร์จะเหมือนกับแชทส่วนตัว
ไฟล์สำหรับกลุ่มแบบชุมชน
สำหรับหน้าไฟล์ของกลุ่มแบบชุมชน จะมีความแตกต่างกับหน้าไฟล์แบบกลุ่มข้อความและองค์กร แต่การทำงานต่างๆนั้นจะเหมือนกันกับหน้าทุกอย่าง สมาชิกภายในกลุ่มจะสามารถสร้างโฟลเดอร์ อัพโหลดไฟล์ ย้าย แบ่งปัน และลบไฟล์ต่างๆได้
ตั้งค่าสมาชิก (Setting member)
สามารถเปิดใช้งานในส่วนของ Setting member ได้ด้วยการคลิกที่ Icon รูปคนที่อยู่ข้างชื่อกลุ่ม เมื่อกดแล้วจะแสดงหน้าต่างที่ประกอบไปด้วยรายชื่อสมาชิกในกลุ่ม และหากผู้ใช้งานเป็น เจ้าของกลุ่ม (Owner) หรือผู้ดูแล (Admin) จะสามารถตั้งค่าสมาชิกได้ โดยกดที่ Kebab menu ด้านข้างรายชื่อ
สิทธิ์ในการตั้งค่าสมาชิกของแต่ละตำแหน่งจะมีดังนี้
เจ้าของกลุ่ม (Owner) - สามารถลบสมาชิกหรือผู้ดูแลออกจากกลุ่มได้ - สามารถปรับเพิ่ม-ลดตำแหน่งของสมาชิกในกลุ่มได้ โดยปรับเพิ่มเป็นผู้ดูแลและเจ้าของกลุ่มได้ ปรับลดเจ้าของและผู้ดูแลเป็นสมาชิกธรรมดาได้
ผู้ดูแลกลุ่ม (Admin)
- สามารถลบสมาชิกออกจากกลุ่มได้ - สามารถปรับเพิ่ม-ลดตำแหน่งของสมาชิกในกลุ่มได้ โดยปรับเพิ่มเป็นผู้ดูแลได้ ปรับลดผู้ดูแลเป็นสมาชิกธรรมดาได้
สมาชิก (Member) - เมื่อเปิดในส่วนการตั้งค่าสมาชิก จะแสดงปุ่มเพิ่มเพื่อนสมาชิกคนอื่นๆในกลุ่มได้ ในกรณีที่ทั้งคู่ยังไม่ได้เป็นเพื่อนกันใน Center
ในกรณีที่ผู้ใช้งานลืมรหัสผ่าน ผู้ใช้งานสามารถทำการเปลี่ยนรหัสผ่านได้ โดยการเปลี่ยนรหัสผ่านจะสามารถทำผ่านการยืนยันตัวตนได้ 2 ทาง คืออีเมลล์และเบอร์โทรศัพท์ โดยการเปลี่ยนรหัสอีเมลล์หรือเบอร์นี้จะสามารถทำได้ก็ต่อเมื่อมีการยืนยันตัวตนด้วยอีเมลล์หรือเบอร์โทรแล้ว หากลงทะเบียนด้วยอีเมลล์ ก็สามารถเปลี่ยนรหัสโดยอีเมลล์ หากลงทะเบียนด้วยเบอร์โทร ก็จะสามารถลงทะเบียนด้วยเบอร์โทรได้ หรือหากทำการยืนยันตัวตนทั้ง 2 แบบแล้ว ก็จะสามารถเปลี่ยนรหัสผ่านได้ทั้ง 2 ทาง
ผู้ใช้งานทำการกดที่ข้อความ “Forgot Password?” เพื่อเข้าสู่หน้า Forgot Password ดัง ภาพที่ 2
เมื่อเข้าสู่หน้า Forgot Password ให้ทำการกรอก Email ที่ใช้ลงทะเบียนไว้
เมื่อกดปุ่ม ระบบจะกลับมาที่หน้า Log in พร้อมแสดงแจ้งเตือนการส่ง Link reset password ให้ผู้ใช้งานทาง Email ดังภาพที่ 3
ให้ผู้ใช้งานเข้าไปยังกล่องข้อความของ E-mail ที่ผู้ใช้งานทำการใส่ข้อมูลไป จะพบกับ E-mailที่ทาง Center ส่งมาให้ ให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่ม Reset Password ดังภาพ
เมื่อกดที่ปุ่มแล้ว จากนั้นระบบจะนำทางไปยังหน้าเปลี่ยนรหัสผ่าน ดังภาพที่ 5 ให้ผู้ใช้งานทำการใส่รหัสผ่านใหม่ แล้วทำการกด Reset Password
เมื่อตั้งค่ารหัสผ่านใหม่สำเร็จ ระบบจะแสดงข้อความ Reset Password Success ดังภาพที่ 6
ให้ผู้ใช้ทำการเปิด Center App แล้วเข้าสู่ระบบด้วยรหัสผ่านใหม่
เมื่อเข้ามาให้หน้า Forgot Password ให้ผู้ใช้กดที่ข้อความ Or click here to enter with phone number
หน้าจอจะแสดงดังภาพที่ 7 ให้ผู้ใช้งานใส่เบอร์โทรที่ลงทะเบียนไว้กับแอคเคาท์ จากนั้นกดปุ่ม Get verify code
แอปพลิเคชันจะแสดงหน้า Verify Account ดังภาพที่ 8 ผู้ใช้งานจะได้รับเลข Verify ทาง SMS
เมื่อผู้ใช้งานทำการกรอกเลข Verify ถูกต้อง ระบบจะแสดงหน้า Reset your password ดัง ภาพที่ 9
ผู้ใช้งานทำการตั้งรหัสผ่านใหม่ตาม Policy ในช่อง Set your password และช่อง Confirm your password
จากนั้นทำการกดปุ่ม Confirm เพื่อเปลี่ยนรหัสผ่านใหม่ ระบบจะทำการเข้าสู่ระบบทันที
หากเป็นครั้งแรกของการใช้งานแอพพลิเคชั่น ผู้ใช้งานจำเป็นต้องทำการสมัครก่อนเพื่อให้สามารถเข้าสู่ระบบได้ การสมัครเพื่อเข้าสู่ระบบของ Center App ผู้ใช้งานสามารถลงทะเบียนการสมัครแบบยืนยันตัวตนได้ 2 ช่องทาง คือ การลงทะเบียนด้วย E-mail และ การลงทะเบียนด้วยโทรศัพท์
ขั้นตอนในการสมัครบัญชีผู้ใช้งานด้วยอีเมล มีดังนี้
เมื่อเข้าสู่หน้าจอเข้าสู่ระบบ ผู้ใชงานทำการกดในส่วนของ Sign up (หมายเลข 1) เพื่อเข้าสู่หน้าจอสมัครสมาชิก ดังภาพที่ 2 จากนั้นให้กรอก Email ที่ต้องการใช้สมัครลงในช่องดังภาพ
กดยอมรับเงื่อนไขการใช้บริการและนโยบายความเป็นส่วนตัว
กดปุ่ม Next เพื่อไปหน้า Verify Account ดังภาพที่ 3
ระบบจะทำการส่ง Verify code ไปยังอีเมลที่ผู้ใช้งานกรอก
ทำการกรอก Verify code ลงในช่องหมายเลข 4
แอปพลิเคชันจะแสดงหน้า Create your profile ดังภาพที่ 4
กรอกข้อมูลให้ครบถ้วน
ระบุชื่อ (First name) (จำเป็น)
ระบุนามสกุล (Last name) (จำเป็น)
ระบุเบอร์โทรศัพท์ (Phone number) (จำเป็น)
ผู้ใช้งานกดปุ่ม Next เพื่อไปยังหน้า Create your password
ผู้ใช้งานทำการตั้งรหัสผ่านที่ต้องการในช่อง Set your password โดยต้องตั้ง รหัสผ่านให้ตรงกับ Policy ของ iam2 คือ
รหัสผ่านต้องอยากน้อย 8 ตัว
ต้องมีตัวอักษรพิมพ์ใหญ่อย่างน้อย 1 ตัวอักษร
ต้องมีตัวอักษรพิมพ์เล็กอย่างน้อย 1 ตัวอักษร
ต้องมีตัวเลขอย่างน้อย 1 ตัวอักษร
ต้องมีอักขระพิเศษอย่างน้อย 1 ตัวอักษร
ในกรณีที่ต้องรหัสผ่านไม่ตรงกลับ Policy ของ center แอปพลิเคชันจะแสดง ข้อความ ดังภาพที่ 6
ยืนยันรหัสผ่าน - ในกรณีที่กรอกรหัสผ่านไม่ตรงกับรหัสที่ตั้งไว้ แอปพลิเคชันจะ แสดงข้อความแจ้ง ดังภาพที่ 7
ทำการกดปุ่ม Confirm
แอปพลิเคชันแสดงหน้าจอแนะนำแอปพลิเคชันจำนวน 4 หน้า ดังภาพที่ 8
ปัดหน้าจอจากขวาไปซ้ายในหน้าแนะนำแอปพลิเคชันหน้าที่ 4 จะแสดงหน้าจอ Work together โดยผู้ใช้งานทำการกดปุ่ม Get start ในภาพที่ 9 เพื่อทำการเริ่มใช้ งานแอปพลิเคชัน
แอปพลิเคชันแสดงหน้าจอ Welcome ผู้ใช้งานทำการกดปุ่มปิด “x” ที่มุมขวาบน ของหน้าจอในภาพที่ 9 เพื่อเริ่มใช้งาน แล้วแอปพลิเคชันจะแสดงหน้า Home ดังภาพที่
การสมัครบัญชีด้วยเบอร์โทรศัพท์ จะมีขั้นตอนเหมือนกันกับการสมัครด้วย Email เพียงแค่ในหน้าแรก จะเลือกการสมัครแบบเบอร์โทร และรับหมายเลข OTP จากเบอร์ การเลือกสมัครด้วยเบอร์ทำได้โดยกดที่เมนูข้อความ or click here for sign up with phone number ดังภาพที่่ 10
จากนั้นหน้าถัดๆไปก็จะให้ทำการกรอกข้อมูลคล้ายๆกันกับการสมัครแบบ E-mail เพียงแค่ในหน้า Create your profile จะให้ใส่ email แทน phone number แทน
การสมัครสำเร็จ จะเกิดขึ้นเมื่อเราทำการกด Confirm ในหน้า Setting password แล้วแอปพลิเคชันแสดงหน้าจอแนะนำแอปพลิเคชันจำนวน 4 หน้า ดังภาพที่ 8 และสามารถเข้าสู่หน้าหลักได้แบบภาพที่ 14 ซึ่งเป็นการเข้าสู่ระบบอัตโนมัติหลังจากทำการสมัครสำเร็จ
หน้าแรกหลังจากทำการติดตั้งแอพพลิเคชั่น
สำหรับผู้ใช้งานทำการดาวน์โหลด Center App จาก Store มาครั้งแรก เมื่อเปิดแอพมาจะพบกับส่วนของ เข้าสู่ระบบ (Sign in), ลงทะเบียน (Sign up) และหน้าสำหรับทำการเปลี่ยนรหัสผ่านสำหรับผู้ที่ลืมรหัสผ่าน (Forgot password) ตามรูปภาพ
สำหรับฟีเจอร์ต่างๆในส่วนเหล่านี้ จะแนะนำในหน้าถัดไป
การ Check in location
การเช็คอิน คือการระบุตำแหน่งของผู้ใช้แอปพลิเคชัน Center เมื่อเช็คอินแล้ว ระบบจะแจ้งเตือนไปยังกลุ่มต่างๆที่ผู้ใช้งานอยู่ในกลุ่มนั้น และตั้งค่าเอาไว้ให้แจ้งเตือน ผู้ใช้งานสามารถดูเพิ่มเติมได้ที่ส่วนของ Groupv โดยฟีเจอร์การเช็คอินบนแอปมือถือนั้นจะอยู่ในหน้าหลักของแอป
ขั้นตอนการ Check in location มีดังนี้
ให้ผู้ใช้งานกดปุ่ม เพื่อเข้าสู่หน้า Check in ดังภาพที่ 2 ซึ่งในหน้านั้นจะแสดงรายชื่อสถานที่ที่ใกล้เคียงให้ผู้ใช้งานเลือก
จากภาพที่ 2 ผู้ใช้งานสามารถเลือก Location ที่ต้องการได้
หลังจากที่ผู้ใช้งานได้ทำการยืนยัน Location ในการ Check in แล้ว แอปพลิเคชันจะกลับมา ยังหน้า Home พร้อมกับแสดงชื่อ Location ที่ผู้ใช้งานทำการเลือกไว้ด้านบนข้างรูป Profile ดังภาพที่ 3 ภาพที่ 3 การแสดงชื่อ Location ที่ Check in ในหน้า Home
หน้าหลักของ Center Application จะเป็นหน้าแรกที่ผู้ใช้งานเห็นเมื่อเปิด Application
โดยผู้ใช้งานจะสามารถเห็นฟีเจอร์เหล่านี้ได้ทางหน้าหลัก
หน้าข่าวสาร (Feed)
Center มีบริการ conferrence ที่รวมไปถึงการ Live ด้วย โดยผู้ใช้งานสามารถ Live และรับชม live ในขณะนั้นได้จากหน้าหลัก ดังนี้
ให้ผู้ใช้งานกดปุ่ม ที่หน้า Home เพื่อทำการ Live video จากนั้นแอป พลิเคชันจะแสดง Pop up ยันยืนการ Live video ให้ผู้ใช้งานกด ดังภาพ
หากผู้ใช้งานกดปุ่ม “Cancel” จะเปิดการยกเลิกการ Live Video
หากผู้ใช้งานทำการกดปุ่ม “OK” แอปพลิเคชันจะเริ่มทำการ Live video ดังภาพ
เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม “End” ในหน้าการ Live video แอปพลิเคชันจะแสดง Pop up ยืนยัน การหยุด Live video ดังภาพ
หากผู้ใช้งานทำการกดปุ่ม “OK” แอปพลิเคชันจะทำการจบการ Lice video และย้อนกลับ มาที่หน้า Home ดังเดิม
หากผู้ใช้งานกดปุ่ม “Cancel” แอปพลิเคชันจะยังคงทำงาน Live video ต่อไป
หากเพื่อนใน Center application ทำการ Live video ในหน้า Home จะแสดงสถานะการ Live ดังภาพที่เมื่อผู้ใช้งานกดที่โปรไฟล์เพื่อนแอปพลิเคชันจะแสดงหน้าจอการ Live ของเพื่อนให้ ผู้ใช้งานได้รับชม
หากผู้ใช้งานต้องการหยุดการดู Live สามารถทำได้โดยการกดที่ปุ่ม “<” เพื่อย้อนกลับมาที่หน้า Home
ใน Center application จะสามารถส่งแจ้งเตือนให้ผู้ใช้งานรับเมื่อมีกิจกรรมต่างๆ เกิดขึ้นเช่น การเชิญเข้า ร่วมประชุม การ Assign งาน หรือแจ้งเตือนจากข้อความแชท ซึ่งผู้ใช้งานสามารถดูแจ้งเตือนเหล่านั้นย้อนหลัง ได้จากหน้าจอ Action center
ให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่ม ในหน้า Home เพื่อเข้าสู่หน้า Action center
ในกรณีที่ผู้ใช้งานต้องลบแจ้งเตือนแบบรายการเดียว สามารถทำได้ด้วยการ กดที่ปุ่ม “X” มุมขวาบนของการ์ดแจ้งเตือนที่ต้องการ
เมื่อกดปุ่ม “X” และแอปพลิเคชันจะแสดง Pop up ยืนยันการลบแจ้งเตือนให้ผู้ใช้งานเลือก ซึ่งหากผู้ใช้งานเลือกกดปุ่ม “OK” แจ้งเตือนดังกล่าวจะถูกลบและหายไปจากหน้า Action center
หากผู้ใช้งานกดปุ่ม “Cancel” จะเป็นการยกเลิกลบแจ้งเตือนนั้น
ในแอปพลิเคชันมีฟีเจอร์ไฟล์ ที่ใช้ในการจัดการไฟล์ต่างๆ เช่น สร้างโฟล์เดอร์ อัปโหลดไฟล์ แก้ไขไฟล์ ลบไฟล์ รวมถึงการแชร์ไฟล์ไปยังแชท หรือแชร์ไปยังแอปพลิเคชันอื่นๆ โดยในการเข้าใช้งานฟีเจอร์ไฟล์ มีขั้นตอนดังนี้
ผู้ใช้งานทำการเข้าสู่ระบบ แอปพลิเคชันแสดงหน้า Home ดังภาพที่ 1
ทำการกดในส่วนไอคอน (หมายเลข 1) ที่มุมซ้ายล่างของหน้อจอ
แอปพลิเคชันแสดงหน้า Features ดังภาพที่ 2
ทำการกดเลือก Feature: File (หมายเลข 2)
แอปพลิเคชันแสดงหน้าจอ Feature : File ดังภาพที่ 3
ใน Center application จะมีบริการ Feature post ให้ผู้ใช้งานได้ใช้ ซึ่งผู้ใช้งานจะสามารถสร้าง Post ที่มีรูปและวิดีโอได้ สามารถแก้ไข Post ดังกล่าว ตลอดจนการลบ Post เป็นต้น โดยรายละเอียดการ ใช้งาน Feature นี้ทั้งหมดจะอธิบายไว้ดังต่อไปนี้
ขั้นตอนการสร้าง Post มีดังนี้
จากภาพที่ 2 เมื่อผู้ใช้งานเข้ามาในหน้า post และต้องการสร้าง Post ใหม่ขึ้น ผู้ใช้งานจะต้องกดที่ข้อความ “Create New Post”
จากภาพที่ 3 เป็นหน้า Create post ซึ่งผู้ใช้งานจะต้องทำการเขียน Topic โดยผู้ใช้งานสามารถเขียนเป็นข้อความหรือ Link ก็ได้
ส่วน Caption ผู้ใช้งานสามารถเขียนเป็นข้อความหรือ Link ก็ได้
ส่วน Photo ผู้ใช้งานสามารถเลือกเป็นรูปหรือวิดีโอก็ได้
ส่วน Tag friends สามารถเลือก Tag เพื่อนได้
ส่วน Category ผู้ใช้งานสามารถเลือก Category ในหัวข้อที่ต้องการได้
ส่วน Privacy จะมีให้เลือก 3 แบบ ได้แก่
Public: Post จะแสดงในหน้า Trending feeds ปกติ
Only with tag: Post จะแสดงให้เพื่อนที่ถูก Tag เห็นเท่านั้น
Save Draft: Post จะแสดงในหน้า My post ในส่วนของ “Draft”
เมื่อกรอกข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ให้กดที่ปุ่ม “Done” แล้วแอปพลิเคชันจะแสดงหน้าถัดไปเพื่อให้ผู้ใช้งานตรวจสอบก่อนการ Post ดังภาพที่ 4
ขั้นตอนการแก้ไข Post มีดังนี้
เมื่อผู้ใช้งานเข้ามาในหน้า Post และต้องการแก้ไข Post ผู้ใช้งานจะต้องกดที่ไอคอนรูป โปรไฟล์มุมขาวบน ดังภาพที่ 6 เพื่อเข้าสู่หน้า My Post
หลังจากกดไอคอนโปรไฟล์แล้ว แอปพลิเคชันจะแสดงภาพที่ 7 คือ หน้าจอหน้า My Post ของผู้ใช้งาน ซึ่งภายในหน้านี้จะสามารถจัดการกับ Post ได้หลายส่วน หนึ่งในนั้นคือคือการแก้ไข Post โดยอันดับแรกผู้ใช้งานต้องทำการเลือก Post ที่ต้องการก่อน
จากภาพที่ 9 เป็นหน้า Edit post ซึ่งผู้ใช้งานสามารถแก้ไข Topic โดยผู้ใช้งานสามารถเขียนเป็นข้อความหรือ Link ก็ได้
ส่วน Caption ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขเป็นข้อความหรือ Link ก็ได้
ส่วน Photo ผู้ใช้งานสามารถเลือกเป็นรูปหรือวิดีโอก็ได้
ส่วน Tag friends สามารถเลือก Tag เพื่อนได้
ส่วน Category ผู้ใช้งานสามารถเลือก Category ในหัวข้อที่ต้องการได้
ส่วน Privacy จะมีให้เลือก 3 แบบ ได้แก่
Public: Post จะแสดงในหน้า Trending feeds ปกติ
Only with tag: Post จะแสดงให้เพื่อนที่ถูก Tag เห็นเท่านั้น
Save Draft: Post จะแสดงในหน้า My post ในส่วนของ “Draft”
เมื่อกรอกข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ให้กดที่ปุ่ม “Done” ดังภาพที่ 10 แล้วแอปพลิเคชันจะแสดงหน้าถัดไปเพื่อให้ผู้ใช้งานตรวจสอบก่อนการ Post ดังภาพที่ 11
ขั้นตอนการลบ Post มีดังนี้
หากผู้ใช้งานกดปุ่ม “Cancel” จะเป็นการยกเลิกลบ Post นั้น
ขั้นตอนการดู Post ทั้งหมด มีดังนี้
ขั้นตอนการถูกใจ Post มีดังนี้
จากภาพที่ 17 หากผู้ใช้งานต้องการถูกใจ Post สามารถทำได้โดยการกดที่ปุ่ม ที่มุมซ้ายบนของ Post จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดงสถานะการถูกใจ ดังภาพที่ 18
ขั้นตอนการเลือกรูปแบบการแสดง Post มีดังนี้
ขั้นตอนการ Save post มีดังนี้
หากผู้ใช้งานต้องการดู Post ทั้งหมดที่ได้ทำการ Save ไว้ สามารถดูได้ที่หน้า My post ส่วน Save ดังภาพที่ 22
ขั้นตอนการ Comment post แบบข้อความ มีดังนี้
ให้ผู้ใช้งานกดที่ช่องเขียนข้อความ “Write a comment…” ดังภาพที่1 จากนั้นจะปรากฏแป้นพิมพ์ขึ้นมาให้ดังภาพที่ 2
จากนั้นให้ทำการเขียนข้อความที่ต้องการ Comment ลงไป
ขั้นตอนการ Comment post แบบ Sticker มีดังนี้
จากนั้นให้ทำการเขียนข้อความที่ต้องการ Comment ลงไป
ขั้นตอนการ Comment post แบบรูปภาพ มีดังนี้
ให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่ม “+” ดังภาพที่ 7 จากนั้นระบบอัลบั้มรูปภาพจากเครื่องโทรศัพท์ของผู้ใช้งาน เพื่อทำการเลือกรูปภาพ
เมื่อผู้ใช้งานเลือกรูปภาพแล้ว ระบบจะแสดงดังภาพที่ 8
ขั้นตอนแก้ไข Comment post แบบข้อความ มีดังนี้
ให้กดค้างที่ Comment ข้อความที่ต้องการจากนั้นระบบจะแสดงปุ่มให้แก้ไข ดังภาพที่ 10
ทำการเขียนข้อความที่ต้องการแก้ไขลงไป
ขั้นตอนแก้ไข Comment post แบบรูปภาพ มีดังนี้
ให้กดค้างที่ Comment รูปภาพที่ต้องการจากนั้นระบบจะแสดงปุ่มให้แก้ไข ดังภาพที่ 12
กรอกข้อความที่ต้องการลงไปในช่องข้อความในรูปภาพ
กดปุ่ม จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดงผลการแก้ไขใน Comment รูปภาพ ดังภาพที่ 14
การดาวน์โหลดไฟล์และโฟลเดอร์บน Center mobile
ในภาพจะแสดงหน้า Feature File ซึ่งหากผู้ใช้งานต้องการดาวน์ไฟล์ให้ทำการกดที่ ปุ่ม ข้างหลังไฟล์ที่ต้องการดาวน์โหลด จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดงรายการปุ่มการจัดการไฟล์ขึ้นมา ให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่ม Download จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดง Pop up การดาวน์โหลดไฟล์ขึ้นมา
เมื่อแอปพลิเคชันได้เตรียมการดาวน์โหลดเสร็จ หน้าจอจะแสดง Pop up พื้นที่จัดเก็บไฟล์ให้ผู้ใช้งานเลือก
ในภาพจะแสดงหน้า Feature File ซึ่งหากผู้ใช้งานต้องการดาวน์โฟลเดอร์ให้ทำการกดที่ปุ่ม ข้างหลังโฟลเดอร์ที่ต้องการดาวน์โหลด จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดงรายการปุ่มการจัดการโฟลเดอร์ขึ้นมา ให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่ม Download จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดง Pop up การดาวน์โหลดโฟลเดอร์ขึ้นมา
เมื่อแอปพลิเคชันได้เตรียมการดาวน์โหลดเสร็จ หน้าจอจะแสดง Pop up พื้นที่จัดเก็บโฟลเดอร์ให้ผู้ใช้งานเลือก ดังภาพ
ในการใช้งานแอปพลิเคชัน มีฟังก์ชันชุมชน (Community) ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงกลุ่มที่ผู้ใช้งานเป็นสมาชิก สามารถสร้างกลุ่ม กดเข้าร่วมกลุ่ม รวมถึงการค้นหากลุ่ม โดยในการเข้าใช้งานฟังก์ชันมีขั้นตอนดังนี้
ผู้ใช้งานทำการเข้าสู่ระบบ แอปพลิเคชันแสดงหน้า Home ดังภาพที่ 1
แอปพลิเคชันแสดงหน้า Community ดังภาพที่ 2
ผู้ใช้งานทำการกดเข้าหน้า Community ดังภาพที่ 3
แอปพลิเคชันแสดงหน้าสร้างกลุ่ม (Creating Group) ดังภาพที่ 4
ใส่ชื่อกลุ่ม
เลือกประเภทกลุ่ม
ดังภาพที่ 5 แอปพลิเคชันจะแสดงหน้าต่างแชทกลุ่มที่สร้างในภาพที่ 6 ซึ่งเป็นกลุ่มที่สามารถแชทได้อย่างเดียว
ดังภาพที่ 7 แอปพลิเคชันจะแสดงหน้าต่างแชทกลุ่มที่สร้าง ซึ่งเป็นกลุ่มที่สามารถแชทได้ และสามารถใช้งาน Micro app (Task, Board, Calendar) ภายในกลุ่มได้ซึ่งแสดงในหน้าจัดการกลุ่ม ดังภาพที่ 8
ดังภาพที่ 9 แอปพลิเคชันจะแสดงหน้าต่างแชทกลุ่มที่สร้าง ซึ่งเป็นกลุ่มที่สามารถแชทได้ ใช้งานไฟล์ โพสต์ และสามารถใช้งาน Micro app (Task, Board, Calendar) ภายในกลุ่มได้ซึ่งแสดงในหน้าจัดการกลุ่ม ดังภาพที่ 10
เลือก Category
ดังภาพที่ 11 เมื่อมีผู้ใช้งานอื่นต้องการเข้าร่วมกลุ่ม เจ้าของกลุ่มต้องทำการเชิญเข้าได้อย่างเดียว ผู้ใช้งานอื่นไม่สามารถค้นหากลุ่มแบบ Private group เจอ
ดังภาพที่ 12 เป็นกลุ่มที่ผู้ใช้งานอื่นสามารถค้นหาเจอ และสามารทำการขอเข้าร่วมกลุ่มได้ แต่ต้องได้รับการยินยอมจากเจ้าของกลุ่มก่อนจึงจะสามารถถเข้าร่วมกลุ่มได้
ดังภาพที่ 13 เป็นกลุ่มที่ผู้ใช้งานอื่นสามารถค้นหาเจอ และสามารทำการขอเข้าร่วมกลุ่มได้เลย
ผู้ใช้งานทำการกดเข้าหน้า Community ในภาพที่ 14
กดเลือกกลุ่มแบบ Public closed-group
แอปพลิเคชันแสดงชื่อกลุ่ม จำนวนสมาชิกในกลุ่ม และปุ่ม “Join” เป็น Pop up ขึ้นมาดังภาพที่ 15
เมื่อผู้ใช้งานอื่นที่เป็นเจ้าของกลุ่มทำการกดยินยอมการเข้าร่วมกลุ่ม ผู้ใช้งานจะถูกเพิ่มเป็นสมาชิกกลุ่มโดยอัตโนมัติ
ผู้ใช้งานทำการกดเข้าหน้า Community ในภาพที่ 19
กดเลือกกลุ่มแบบ Public open-group
แอปพลิเคชันแสดงชื่อกลุ่ม จำนวนสมาชิกในกลุ่ม และปุ่ม “Join” เป็น Pop up ขึ้นมาดังภาพที่ 20
การอัพโหลดไฟล์ต่างๆเข้าสู่ Center
การอัพโหลดไฟล์ต่างๆเข้าสู่ Center สำหรับบน Center mobile ผู้ใช้งานสามารถทำได้ตามนี้
เมื่อเข้ามาอยู่หน้าฟีเจอร์ไฟล์แล้วผู้ใช้งานทำการกดปุ่ม + ที่มุมขวาล่างและกดที่ไอคอนอัพโหลด ตามภาพ
แอปพลิเคชันแสดง Pop up “Select files to upload” ดังภาพ
กดปุ่ม แอปพลิเคชันจะแสดง Pop up ให้เลือกดังภาพ
ให้ผู้ใช้งานทำการเลือก “Photo Library”
แอปพลิเคชันแสดงคลังรูปภาพและวิดีโอที่อยู่ในเครื่องให้ผู้ใช้งานเลือกดังภาพ และ ทำการกดปุ่ม “Add” แอปพลิเคชันแสดงหน้าจอดังภาพ
กดปุ่ม Upload Files เพื่อทำการอัปโหลดไฟล์ จะมีแถบแสดงสถานะการอัพโหลด เมื่ออัพโหลดเสร็จปุ่ม Done จะแสดงขึ้นมา ให้กดปุ่ม Done จะเป็นการอัปโหลดไฟล์สำเร็จ
ผู้ใช้งานทำการเลือก “Choose Files” จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดงไฟล์ต่างๆ ที่อยู่ในเครื่องให้ผู้ใช้งานเลือกดังภาพ เมื่อเลือกเอกสารที่ต้องการอัพโหลดสำเร็จ ให้ทำการกดปุ่ม “Open”
กดปุ่ม Upload Files เพื่อทำการอัปโหลดไฟล์ จะมีแถบแสดงสถานะการอัพโหลด เมื่ออัพโหลดเสร็จปุ่ม Done จะแสดงขึ้นมา ให้กดปุ่ม Done จะเป็นการอัปโหลดไฟล์สำเร็จ
ไฟล์และโฟลเดอร์ต่างๆที่อยู่บน Center จะสามารถลบได้โดยให้ผู้ใช้งานเข้ามาในหน้า Feature: File และทำได้ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
ปัดโฟล์เดอร์หรือไฟล์ที่ต้องการลบจากขวาไปซ้าย แอปพลิเคชันจะแสดงปุ่มลบดังภาพ ให้ผู้ใช้งานทำการกดปุ่ม ลบ
แอปพลิเคชันแสดง Pop up “Are you syre to delete this ….” หากมั่นใจว่าต้องการลบ ให้กดที่ปุ่ม OK หากต้องการยกเลิกที่จะลบ ให้กด Cancel
เมื่อเข้ามาอยู่หน้าฟีเจอร์ไฟล์แล้วผู้ใช้งานทำการกดปุ่มที่มุมขวาล่างของหน้าจอในภาพ และกดที่ไอคอน Folder
แอปพลิเคชันแสดง Pop up “Create Folder” ดังภาพ สำหรับการสร้าง Folder ข้อมูลที่จำเป็นต้องใส่จะมีเพียง Folder name ทำการใส่ Folder name ได้โดยการคลิกที่ช่อง Folder name จะมีคีย์บอร์ดแสดงขึ้นมาให้ใส่ชื่อโฟลเดอร์ ให้ผู้ใช้งานทำการพิมพ์ชื่อโฟลเดอร์ได้เลย
นอกจากนี้แล้ว ผู้ใช้งานสามารถทำการเลือกประเภทของโฟล์เดอร์ได้ โดยประเภทของโฟลเดอร์จะมี 3 รูปแบบ ได้แก่
โฟลเดอร์ธรรมดา (Normal folder)
โฟลเดอร์แบบเข้ารหัส (Encrypt folder)
โฟลเดอร์แบบควบคุมเวอร์ชั่น (Option control)
โดยปกติค่าตั้งต้นของโฟลเดอร์จะเป็นโฟลเดอร์ธรรมดา หากไม่เลือกรูปแบบโฟลเดอร์อื่นๆ เมื่อสร้างก็จะได้โฟลเดอร์ธรรมดา
ใน Community group จะมีส่วนฟีเจอร์ Post ที่ให้ผู้ใช้งานสามารถเข้ามาทำการสร้าง Post เพื่อแบ่งปันเรื่องราว หรือข่าวสารต่างๆ กับสมาชิกภายในกลุ่มได้ ซึ่งนอกจากจะสร้าง Post ของตัวเองแล้ว ผู้ใช้งานสามารถเข้าไปถูกใจ หรือแสดงความคิดเห็นกับ Post อื่นของสมาชิกกลุ่มได้ ทั้งนี้หากมี Post ที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสมผู้ใช้งานก็สามารถทำการ Report รายงานปัญหา Post นั้นได้อีกด้วย โดยขั้นตอนการ Report post มีดังนี้
ให้ผู้ใช้งานทำการกดเลือกกลุ่ม Community ที่ต้องการ จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดงหน้าจอหลักของ Community group ขึ้นมาดังภาพที่ 1
จากนั้นให้ทำการกด Post ที่ต้องการ Report แอปพลิเคชันจะแสดงหน้าจอรายละเอียด Post ดังภาพที่ 2
ให้ผู้ใช้งานทำการเลือกหัวข้อรายงานปัญหาที่ต้องการ Report post จากนั้นระบบจะช่องกรอกเหตุผลการ Report post ดังภาพที่ 4
เมื่อมีการ Report port จากสมาชิกในกลุ่ม ผู้ที่จะมีสิทธิ์จัดการกับ Post ดังกล่าวได้ คือ เจ้าของกลุ่ม หรือ Owner โดย Owner จะสามารถดูประวัติการ Report post ทั้งหมด รวมถึงสามารถลบ Post ที่ถูก Report ออกไปจากหน้าฟีดของ Community group ได้
เมื่อเข้ามาในหน้าจอ Setting ให้ผู้ใช้งานทำการกดที่เมนู Manage Report เพื่อดูรายการ Report post ทั้งหมดในกลุ่ม ดังภาพที่ 3
กดที่รายการ Report post เพื่อเปิดดูประวัติและรายละเอียดการของ Report ดังภาพที่ 4
จะเห็นได้ว่าในหน้า Report detail จะแสดงหน้า Post รายชื่อผู้ Report รวมถึงเหตุผลในการรายงานปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหา Post ดังกล่าว
จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดง Pop up “Are you sure to delete this post?” เพื่อยืนยันการลบ Post อีกครั้ง ดังภาพที่ 2
เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม OK แอปพลิเคชันจะแสดงหน้า Manage report อีกครั้ง โดยจะเห็นว่า Port ที่ถูก Report จะหายไป ดังภาพที่ 3
กรณีที่ผู้ใช้งานต้องการยกเลิกการลบ Post ที่ถูก Report ให้ทำการกดที่ปุ่ม Cancel
เมื่อกลับมาดูที่หน้าฟีดของ Community group อีกครั้ง จะสังเกตเห็นว่า Post ดังกล่าวจะถูกลบไปแล้วเช่นกัน ดังภาพที่ 4
นอกเหนือไปจากการส่งข้อความและส่งไฟล์แล้ว Center Application ยังสามารถ Call conference ได้ด้วย โดยผู้ใช้งานจะเห็นไอคอน ทั้ง 2 ไอคอนที่มุมขวาบนของช่องแชท ซึ่งผู้ใช้งานสามารถ call conferrene ได้ทั้งในแชทเดี่ยวและแชทกลุ่ม
โดยหากผู้ใช้งานกดปุ่ม “Cancel” จะเป็นการยกเลิกการ Voice call หากผู้ใช้งานต้องการโทรด้วยเสียงให้กดที่ปุ่ม “OK” แอปพลิเคชันจะแสดงหน้า Calling ดังภาพที่ 3
โดยหากผู้ใช้งานกดปุ่ม “Cancel” จะเป็นการยกเลิกการ Video call หากผู้ใช้งานต้องการโทรด้วยเสียงให้กดที่ปุ่ม “OK” แอปพลิเคชันจะแสดงหน้า Calling ดังภาพที่ 5
Distribute Application
เปิดเข้าไปใน Citizen profile จากนั้นเลือก Distribute App
กดปุ่ม + เพื่อทำการเริ่ม Submit application
ใส่ข้อมูลให้ครบ แล้วกด Save application
จากนั้นกดที่ Contract Information ที่เมนูด้านข้าง ทำการใส่ข้อมูลที่จำเป็นแล้วกด update application
เลือกรูปแบบของ Application ที่เมนูด้านข้าง (ขอยกตัวอย่างเป็น web application) จากนั้นทำการใส่เลข version แล้วกด Create
เมื่อเปิดหน้ามา ให้อัพโหลดไฟล์ application ที่ได้จากการ distribute app จาก pipeline และใส่ข้อมูลที่จำเป็นให้ครบ
หากกด save จะเป็นแค่การบันทึก Application หาก Submit จะเป็นการนำ Application ขึ้นบน Market place
เมื่อทำการ Submit เสร็จ ให้ไปที่ Market place จะเห็น Application ที่เรา submit แสดงอยู่ใน Market
เป็นระบบที่เข้าถึงตัว Centerweb , Marketplace , AppSpace , สามารดู App ที่ Install ไปแล้ว , สามาถดูได้ว่าสังกัด organization ใดบ้าง และสามารถดูได้ว่าใครเป็น Developer บ้าง
กดเข้าไปที่เมนูด้านข้าง ล่างสุดที่ขึ้นว่า ONEWEB Citizen Profile เพื่อไปยัง Citizen Profile
เมื่อเข้ามาแล้วครั้งแรก หรือไม่มีการ Install App ใดๆ ตรง My Applications จะแสดงว่า No application is installed
ภายใน Citizen Profile จะมี Switcher เพื่อให้สะดวกเป็นทางลัด ในการไปยัง Organization หรือกลับมายัง Personal (Your console) โดยในส่วนของ Personal และ Organization จะ My Console ที่แตกต่างกันและเหมือนกัน โดยในส่วนที่เหมือนกันคือ Marketplace , Distribute , Forum และในส่วนที่ต่างกันคือ My Application , Developer , Extension
หน้า Personal จะปรากฏ My Console Organization และเมื่อคลิกเข้าไปยัง Organization โดยภายใน Organization นั้นๆ จะมี My Console ที่เป็น Users โดยที่ Personal จะไม่มีส่วนนี้ และใน Organization นั้นๆ My Console Organization ก็จะหายไปเช่นกัน
เมื่อมีการ Install App ใดๆ แล้วจะมาแสดงตรงที่ My Applications
ทำการอัพโหลดรูปประจำตัว (Profile) (ไม่จำเป็น) โดยการกดที่ Icon
ซึ่งหากผู้ใช้งานต้องการดูรหัสผ่านที่กรอกไป สามารถทำได้โดยการกดที่ Icon 1 ครั้งเพื่อดู เมื่อกดแล้วจะแสดงรหัสผ่านเป็นข้อความตามปกติขึ้นมา
ทำการเลือก Location แล้ว ให้กดที่ปุ่ม ในหน้านั้น เพื่อยืนยันการ Check in อีกครั้ง 1ภาพที่ 2 หน้า Check in
ในกรณีที่ผู้ใช้งานต้องลบแจ้งเตือนทั้ง สามารถทำได้ด้วยการกดเลือกทั้งหมดและกดที่ปุ่ม เพื่อทำการลบทั้งหมด
เมื่อต้องการเข้าใช้งาน Feature post ผู้ใช้งานจะทำต้องการกดที่ไอคอน เพื่อเข้าสู่หน้า All post ได้ โดยไอคอนดังกล่าวจะที่แสดงอยู่ในหน้า Feature ทั้งหมด ดังภาพที่ 1
เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม เพื่อทำการ Post จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดง Post ของผู้ใช้งาน ดังภาพที่ 5
เมื่อเลือก Post ที่ต้องการแล้วแอปพลิเคชันจะแสดงหน้า Post นั้นขึ้นมา ในขั้นตอนถัดไปให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่ม ดังภาพที่ 8 เพื่อเข้าสู่หน้าจอ Edit Post
เมื่อผู้ใช้งานกดปุ่ม เพื่อทำการ Post จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดง Post ของผู้ใช้งาน ดังภาพที่ 12
จาก Post ที่ผู้ใช้งานจะเห็นได้ว่ามีปุ่มให้จัดการ Post หลายปุ่มด้วยกัน หนึ่งในนั้นคือปุ่มลบ ซึ่งให้การลบ Post ผู้ใช้งานสามารถทำการกดที่ปุ่ม ดังภาพที่ 13
เมื่อกดปุ่ม และแอปพลิเคชันจะแสดง Pop up ยืนยันการลบ Post ให้ผู้ใช้งานเลือก ดังภาพที่ 14 ซึ่งหากผู้ใช้งานเลือกกดปุ่ม “OK” Post จะถูกลบ
จากภาพที่ 15 เมื่อผู้ใช้งานเข้ามาในหน้า Post และต้องการดู Post ทั้งหมดใน Center applicationผู้ใช้งานจะต้องกดที่ไอคอน เพื่อเข้าสู่หน้า All post ดังภาพที่ 16
หากผู้ใช้งานต้องการเลิกถูกใจ Post ดังกล่าว สามารถทำได้โดยการกดที่สัญลักษณ์จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดงสถานะการถูกใจ ดังภาพที่ 17 เหมือนเดิม
จากภาพที่ 19 หากผู้ใช้งานต้องการเลือกรูปแบบการแสดง Post แบบแนวตั้ง สามารถทำได้โดยการกดที่ปุ่ม จากนั้นแอปพลิเคชันจะปรับรูปแบบการแสดง Post เป็นแนวตั้ง ดังภาพที่ 20
หากผู้ใช้งานให้ Post แสดงแบบแนวนอน สามารถทำได้โดยการกดที่ปุ่ม จากนั้น แอปพลิเคชันจะกลับไปแสดง Post แบบแนวนอน ดังภาพที่ 19
จากภาพที่ 21 หากผู้ใช้งานต้องการ Save post สามารถทำได้โดยการกดที่ปุ่ม
กดที่ปุ่ม เพื่อทำการส่ง Comment ดังกล่าวไปใน Post จากนั้นจะเห็นว่าข้อความที่ได้ทำการ Comment ไปจะแสดงใต้ Post ดังภาพที่ 3
จากภาพที่ 5 ให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่ม จากนั้นระบบจะปรากฏรูปแบบ Sticker ให้ผู้ใช้งานเลือกดังภาพ
กดที่ปุ่ม เพื่อทำการส่ง Sticker ดังกล่าวไปใน Post จากนั้นจะเห็นว่าข้อความที่ได้ทำการ Comment ไปจะแสดงใต้ Post ดังภาพที่ 6
กดที่ปุ่ม เพื่อทำการส่งรูปภาพดังกล่าวไปใน Post จากนั้นจะเห็นว่าข้อความที่ได้ทำการ Comment ไปจะแสดงใต้ Post ดังภาพที่ 9
ให้กดปุ่ม จากนั้นระบบจะแสดงช่องให้แก้ไขข้อความ ดังภาพที่ 11
ถ้ากดที่ปุ่ม จะเป็นการส่ง Comment ดังกล่าวไปใน Post จากนั้นจะเห็นว่าข้อความที่ได้ทำการแก้ไขจะแสดงใต้ Post ดังภาพที่ 12
ถ้ากดที่ปุ่ม Comment ที่ได้ทำการเขียนขึ้นมาใหม่จะไม่ถูกส่งไปแสดงใต้ Post
ให้กดปุ่ม จากนั้นระบบจะแสดงช่องให้แก้ไขข้อความ ดังภาพที่ 13
ทำการกดในส่วนไอคอน ที่มุมขวาล่างของหน้าจอ
ทำการกดปุ่ม ในภาพที่ 3
ทำการใส่รูป โดยกดที่ไอคอน
กดปุ่ม เพื่อทำการสร้างกลุ่ม
ในกรณีที่ผู้ใช้งานต้องการยกเลิกการสร้างกลุ่ม สามารกดปุ่มกลับ ที่มุมซ้ายบนของหน้าจอ
กดปุ่ม ในภาพที่ 15 ปุ่มจะเปลี่ยนเป็น Requested ดังภาพที่ 16
กรณีที่ผู้ใช้งานต้องการยกเลิกคำขอเข้าร่วมกลุ่ม ทำการกดปุ่ม
กดปุ่ม ผู้ใช้งานจะถูกเพิ่มเป็นสมาชิกกลุ่มโดยอัตโนมัติ และแอปพลิเคชันจะแสดงกลุ่มที่เรากดเข้าร่วม
ทำการกดที่ปุ่ม จากนั้นกดที่ปุ่ม Report post แอปพลิเคชันจะแสดงหน้า Report post ดังภาพที่ 3
เมื่อผู้ใช้งานกรอกเหตุผลเรียบร้อยแล้ว ให้ทำการกดปุ่ม เพื่อส่ง Report ให้กับ Owner ของกลุ่มจัดการต่อไป
กรณีที่ผู้ใช้งานต้องการยกเลิกการ Report สามารถทำได้โดยการกดที่ปุ่ม เพื่อย้อนกลับ
ให้ผู้ใช้งานทำการกดไอคอน ในภาพที่ 1 เพื่อเข้าสู่หน้าจอ Setting ดังภาพที่ 2
ในหน้าจอ Report detail หากผู้ใช้งานต้องการลบ Post ที่มีสมาชิก Report เข้ามา สามารถทำได้โดยการกดที่ไอคอน ดังภาพที่ 1
ในการใช้งาน Voice call ในหน้าแชทสนทนา ผู้ใช้งานสามารถทำได้โดยการกดที่ปุ่ม ดังภาพที่ 1 จากนั้นจะมี Pop up ยืนยันการโทรแสดงขึ้นมาดังภาพที่ 2
ในการใช้งาน Voice call ในหน้าแชทสนทนา ผู้ใช้งานสามารถทำได้โดยการกดที่ปุ่ม ดังภาพที่ 4 จากนั้นจะมี Pop up ยืนยันการโทรแสดงขึ้นมาดังภาพที่ 5
การใช้งาน Feature connect
จากภาพที่ 1 หากผู้ใช้งานต้องการเข้าใช้ Feature connect ให้ทำการกดที่ไอคอน จากนั้นแอปพลิคชันจะแสดงหน้าจอ Connect ดังภาพที่ 2
เมื่อเข้ามาในหน้า Connect ให้ผู้ใช้งานทำการกดแชทกลุ่ม หรือแชทเดี่ยวที่ต้องการ หลังจากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดงหน้าแชทขึ้นมา ดังภาพที่ 3
ให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่ม Media จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดง Pop up ช่องทางให้เลือกไฟล์ ดังภาพที่ 9
กดที่ปุ่ม Photo Library เพื่อทำการเลือกไฟล์รูปภาพ หรือวิดีโอในเครื่องโทรศัพท์ของผู้ใช้งาน จากนั้นไฟล์ Media ที่ได้เลือกจะถูกส่งไปในหน้าแชท ดังภาพที่ 10
เมื่อระบบแสดง Pop up ขึ้นมาแล้ว ให้ผู้ใช้งานกดที่ “Choose Files” เพื่อทำการเลือกไฟล์ Document ที่ต้องการส่ง หลังจากที่ได้ทำงานกดส่งไฟล์แล้ว แอปพลิเคชันจะแสดงผลดงภาพที่ 13
จากนั้นให้ผู้ใช้งานกดค้างที่ปุ่ม เพื่อเริ่มบันทึกเสียง เมื่อเลิกกดปุ่มค้างเสียงที่ถูกบันทึกไว้จะถูกส่งไปยังหน้าแชทการสนทนาดังภาพที่ 16
นอกเหนือจากการส่งข้อความ ไฟล์ แลข้อความเสียงแล้ว ผู้ใช้งานยังสามารถจัดการกับข้อความในแชทได้ โดยให้ผู้ใช้งานทำการกดค้างที่ข้อความที่ต้องการ จากนั้นจะมีหน้าต่างแสดงเครื่องมือสำหรับจัดการข้อความขึ้นมาดังภาพที่ 17 โดยเมนูนี้จะมีทั้งข้อความจากฝั่งผู้ใช้งาน และฝั่งผู้ส่งข้อความ
หน้าที่ของเครื่องมือข้อความ
Reply ช่วยในการตอบกลับข้อความ โดยทำให้ผู้ใช้งานรู้ได้ว่าถูกตอบกลับบนข้อความไหน
Copy การคัดลอกข้อความ และสามารถนำไปวางที่อื่นๆได้
Forward การส่งข้อความไปยังแชทอื่นๆ
Delete การลบข้อความ โดยจะลบออกจากฝั่งผู้ลบ แต่ฝ่ายคู่สนทนาจะยังเห็นข้อความอยู่
Unsend ยกเลิกการส่งข้อความ โดยจะข้อความจะหายจากแชทของทั้งผู้ลบและผู้สนทนา
การ Download media
ในการดาวน์โหลดไฟล์ Media ผู้ใช้งานจะต้องทำการกดที่รูปภาพ หรือวิดีโอที่ต้องการ ดังภาพที่ 18 จากนั้นแอปพลิเคชันแสดงรายละเอียดสื่อนั้นขึ้นมา รวมถึงปุ่มสำหรับการดาวน์โหลดด้วย จะเห็นเหมือนกับภาพที่ 19
ให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่ม จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดงPop up การดาวน์โหลดขึ้นมา ดังภาพที่ 20 และเมื่อทำดาวน์โหลดเสร็จจะมี Pop up สำหรับเลือกพื้นที่จัดเก็บไฟล์แสดงขึ้นมา ดังภาพที่ 21
เมื่อผู้ใช้งานทำการเลือกพื้นที่จัดเก็บไฟล์เสร็จสิ้น แอปพลิเคชันจะทำการบันทึกไฟล์ลงไปในเครื่องของผู้ใช้งาน
ให้ผู้ทำการกดที่ปุ่ม “Download” จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดง Pop up การดาวน์โหลดขึ้นมา ดังภาพที่ 24 และเมื่อทำดาวน์โหลดเสร็จจะมี Pop up สำหรับเลือกพื้นที่จัดเก็บไฟล์แสดงขึ้นมาดังภาพที่ 25
เมื่อผู้ใช้งานทำการเลือกพื้นที่จัดเก็บไฟล์เสร็จสิ้น แอปพลิเคชันจะทำการบันทึกไฟล์ลงไปในเครื่องของผู้ใช้งาน
ให้ผู้ทำการกดที่ปุ่ม “Open with” จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดง Pop up การดาวน์โหลดขึ้นมา ดังภาพที่ 27 และเมื่อทำดาวน์โหลดเสร็จจะมี Pop up สำหรับเลือกแอปพลิเคชันที่ต้องการเปิดไฟล์นั้นๆ ดังภาพที่ 28
เมื่อผู้ใช้งานทำการเลือกแอปพลิเคชันเสร็จสิ้น ไฟล์ Document จะถูกเปิดใช้งานทันที
การค้นหาขั้นสูง
ระบบสืบค้นข้อมูลขั้นสูง (Advance Search) เป็นซอฟต์แวร์ระบบสืบค้นข้อมูล (Search Engine) ที่รองรับการใช้งานโดยไม่จำกัดจำนวนผู้ใช้งาน ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นมาโดยทีมพัฒนาของบริษัทอวาแลนท์ โดยระบบสืบค้นข้อมูลขั้นสูงนี้รองรับการค้นหาเอกสารตามคำที่ปรากฏในเนื้อหาเอกสารในลักษณะแบบ Full Text Search รองรับการสืบคันแบบมีเงื่อนไขพิเศษ (Boolean Search) เช่น AND, OR, NOT
หรือทำดัชนีเพื่อสืบคันข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
มีการสนับสนุนการแสดงผลลัพธ์แบบมีการเน้นคำ หรือ วลี ที่ผู้ใช้สืบค้น ในรูปแบบ Highlight สืบคันข้อมูลจากระบบงานที่ระบุไว้ในโครงการทั้งหมด เพื่อนำมาแสดงในรูปแบบที่เหมาะสมกับแต่ละระบบ และ สืบคันข้อมูลจากแหล่งข้อมูลของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องมาแสดงในรูปแบบที่เหมาะสม
นอกเหนือจากการสืบค้นข้อมูลแล้ว ยังรองรับ API (Application Programing Interface) เพื่อให้นักพัฒนาสามารถเขียนโปรแกรม เชื่อมต่อกับระบบคันหาข้อมูลได้ซึ่งจะมีระบบรายงานผู้ใช้งานระบบ System Logs เพื่อใช้ในการตรวจสอบการกระทำต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในหน้าเว็บในแต่ละช่วงเวลา
Restful APIs − สนับสนุนการทำงานที่ง่าย โดยการใช้ Restful APIs สำหรับสื่อสาร
Full text search − Advance search มีความสามารถในการค้นหาข้อความแบบเต็ม ซึ่งจะรองรับการค้นหาทั้งโทเค็น ประโยค การตรวจตัวสะกด สัญลักษณ์ตัวแทน (Wildcard) และการเติมข้อความอัตโนมัติ
Enterprise ready − มีการรองรับองค์กรทุกรูปแบบ โดยสามารถนำไปปรับใช้ในระบบประเภทใดก็ได้ (ใหญ่หรือเล็ก) เช่น ระบบแบบสแตนด์อโลน(standalone) ระบบแบบกระจาย(distributed) หรือ ระบบคลาวด์(cloud) เป็นต้น
Flexible and Extensible − ผู้ใช้งานสามารถปรับแต่ง Advance search ได้เอง
NoSQL database − สามารถใช้เป็นฐานข้อมูล NOSQL ขนาดใหญ่ที่เราสามารถกระจายงานการค้นหาไปตามคลัสเตอร์
Admin Interface − ส่วนต่อประสานผู้ใช้ที่ใช้งานง่าย เป็นมิตรต่อผู้ใช้ ขับเคลื่อนด้วยคุณสมบัติ ซึ่งช่วยให้เราสามารถทำงานที่เป็นไปได้ทั้งหมด เช่น จัดการบันทึก เพิ่ม ลบ อัปเดต และค้นหาเอกสาร
Highly Scalable − ผู้ใช้สามารถปรับขนาดความจุได้โดยการเพิ่มแบบจำลอง
Text-Centric and Advance ใช้เพื่อค้นหาเอกสารข้อความ และผลลัพธ์จะถูกส่งตามความเกี่ยวข้องกับการค้นหาของผู้ใช้ตามลำดับ
1
Acquire Raw Content
ขั้นตอนแรกของการทำแอปพลิเคชันสำหรับค้นหา คือการรวบรวมเนื้อหาของเป้าหมายที่จะทำการค้นหา
2
Build the document
สร้างเอกสารจากเนื้อหาดิบที่แอปพลิเคชันค้นหาสามารถเข้าใจและตีความได้ง่าย
3
Analyze the document
ทำการวิเคราห์เอกสาร
4
Indexing the document
เมื่อสร้างและวิเคราะห์เอกสารแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการจัดทำดัชนีเพื่อให้สามารถดึงข้อมูลเอกสารนี้ตามคีย์ที่กำหนด แทนที่จะใช้เนื้อหาทั้งหมดของเอกสาร การจัดทำดัชนีคล้ายกับดัชนีที่เรามีในตอนท้ายของหนังสือ โดยคำทั่วไปจะแสดงพร้อมหมายเลขหน้าเพื่อให้สามารถติดตามคำเหล่านี้ได้อย่างรวดเร็ว แทนที่จะค้นหาหนังสือทั้งเล่ม
5
User Interface for Search
เมื่อฐานข้อมูลของดัชนีพร้อมแล้ว แอปพลิเคชันจะสามารถดำเนินการค้นหาได้ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ทำการค้นหา แอปพลิเคชันต้องมีอินเทอร์เฟซผู้ใช้ที่ผู้ใช้สามารถป้อนข้อความและเริ่มกระบวนการค้นหาได้
6
Build Query
เมื่อผู้ใช้ส่งคำขอค้นหาข้อความ แอปพลิเคชันควรเตรียมอ็อบเจกต์การสืบค้นโดยใช้ข้อความนั้น ซึ่งสามารถใช้สอบถามฐานข้อมูลดัชนีเพื่อดูรายละเอียดที่เกี่ยวข้องได้
7
Search Query
เมื่อทำการกรองข้อมูลอ็อบเจกต์ ฐานข้อมูลดัชนีจะถูกตรวจสอบเพื่อรับรายละเอียดที่เกี่ยวข้องและเอกสารเนื้อหา
8
Render Results
เมื่อได้รับผลลัพธ์ที่ต้องการแล้ว แอปพลิเคชันควรตัดสินใจว่าจะแสดงผลให้ผู้ใช้เห็นอย่างไรโดยใช้ส่วนติดต่อผู้ใช้
Advance Search is a Search Engine that supports the use of an unlimited number of users, This advanced search system supports searching for documents based on the words that appear in the content of the document by Full-Text Search, Boolean Search, etc. AND, OR, NOT
Quickly Indexing the document
Support searh result in Full-Text or phrases in Highlight type by Investigating information from specified task in projects. to be displayed in a format suitable for each system and Investigate information from sources of other relevant agencies to display in an appropriate format.
In addition to search, it also supports API (Application Programing Interface) so that developers can write programs. Can be connected to a data search engine which has a System Logs user reporting system to be used to monitor the actions that occur on the web page in each period.
Restful APIs − To communicate with Advance search, it is not mandatory to have Java programming skills. Instead you can use restful services to communicate with it.
Full text search − Advance search provides all the capabilities needed for a full text search such as tokens, phrases, spell check, wildcard, and auto-complete.
Enterprise ready − According to the need of the organization, Advance search can be deployed in any kind of systems (big or small) such as standalone, distributed, cloud, etc.
Flexible and Extensible − By extending the Java classes and configuring accordingly, we can customize the components of easily.
NoSQL database − Advance search can also be used as big data scale NOSQL database where we can distribute the search tasks along a cluster.
Admin Interface − Advance search provides an easy-to-use, user friendly, feature powered, user interface, using which we can perform all the possible tasks such as manage logs, add, delete, update and search documents.
Highly Scalable − User can scale its capacity by adding replicas.
Text-Centric and Advance - Advance search is mostly used to search text documents and the results are delivered according to the relevance with the user’s query in order.
1
Acquire Raw Content
The very first step of any search application is to collect the target contents on which search is to be conducted.
2
Build the document
The next step is to build the document(s) from the raw contents which the search application can understand and interpret easily.
3
Analyze the document
Before indexing can start, the document is to be analyzed.
4
Indexing the document
Once the documents are built and analyzed, the next step is to index them so that this document can be retrieved based on certain keys, instead of the whole contents of the document.
Indexing is similar to the indexes that we have at the end of a book where common words are shown with their page numbers so that these words can be tracked quickly, instead of searching the complete book.
5
User Interface for Search
Once a database of indexes is ready, then the application can perform search operations. To help the user make a search, the application must provide a user interface where the user can enter text and initiate the search process
6
Build Query
Once the user makes a request to search a text, the application should prepare a query object using that text, which can then be used to inquire the index database to get relevant details.
7
Search Query
Using the query object, the index database is checked to get the relevant details and the content documents.
8
Render Results
Once the required result is received, the application should decide how to display the results to the user using its User Interface.
เมื่อคลิกแอปที่ต้องการจะแสดงรายละเอียดของแอป และสามารถ Install app จากหน้านี้ได้
Home > Marketplace จะไปยัง new tab Marketplace
โดยจะมีเมนู Application และ Extension
Application
1
สำหรับค้นหาชื่อแอป
2
แสดงแอปที่มีอยู่บน Marketplace สามารถคลิกเข้าไปเพื่อ Install ภายในแอปได้ และดูรายละเอียดของแอป
3
โดยแอปจะมีการแบ่ง Category สามารถเลือกได้ว่าต้องการ Category ใด
4
สามารถเลือกได้ว่าในหนึ่งหน้าจะแสดงกี่แอป
5
เพื่อบอกว่าในแต่ละหน้ามีตั้งแต่แอปที่เท่าใด และสิ้นสุดที่เท่าใด จากแอปทั้งหมด
6
การแบ่งหน้า โดยจะมีก่อนหน้า และถัดไป
Extension
1
สำหรับค้นหาชื่อ Extension
2
แสดง Extension ที่มีอยู่บน Marketplace สามารถคลิกเข้าไปเพื่อ Download ได้ และดูรายละเอียดของ Extension
3
โดย Extension จะมีการแบ่ง Category สามารถเลือกได้ว่าต้องการ Category ใด
4
สามารถเลือกได้ว่าในหนึ่งหน้าจะแสดงกี่ Extension
5
เพื่อบอกว่าในแต่ละหน้ามีตั้งแต่ Extension ที่เท่าใด และสิ้นสุดที่เท่าใด จาก Extension ทั้งหมด
6
การแบ่งหน้า โดยจะมีก่อนหน้า และถัดไป
7
สามารถเลือกได้โดยเรียงจาก New releases , Name
เมื่อคลิก Extension ที่ต้องการจะแสดงรายละเอียดของ Extension และสามารถ Download Extension จากหน้านี้ได้
Home > Application
เมื่อยังไม่มีการ Install แอปใดๆ
โดยประเภทของ App จะมีอยู่ 4 ประเภทคือ
Web app : เช่น CRM , HCM ต่างๆ ที่เป็น web app จะเล่นผ่าน Center web
Micro app : แอปที่อยู่บนมือถือ ที่อยู่ใน Center
Micro web app : เป็น app ที่อยู่บน Center web
Nano app : จะคล้ายๆ กับ Micro app จะอยู่บนมือถือ ซึ่ง Nano app จะขึ้นตาม Location
เมื่อมีการ Install แอปเกิดขึ้น จะแสดงแอปที่ Install ทั้งหมดที่หน้านี้
1
แสดงจำนวนแอปที่มีทั้งหมด
2
สามารถเลือกประเภทของแอปได้
3
แสดงแอปที่ Install
4
สามารถเลือกได้ว่าในหนึ่งหน้าจะแสดงกี่แอป
5
เพื่อบอกว่าในแต่ละหน้ามีตั้งแต่แอปที่เท่าใด และสิ้นสุดที่เท่าใด จากแอปทั้งหมด
6
การแบ่งหน้า โดยจะมีก่อนหน้า และถัดไป
7
สำหรับค้นหาชื่อแอป
8
สามารถคลิกเพื่อไปยังหน้าสร้างแอปได้ตรงผ่าน Citizen Profile
9
แสดงว่าเราอยู่ที่ส่วนไหน และสามารถคลิก Home เพื่อกลับไปยังหน้าหลัก Citizen Profile ได้
การสร้างแอปโดยผ่านหน้า Citizen Profile โดยตรง
Home > Application > คลิกที่ปุ่ม +New
โดยในการ Add new application จะมีอยู่ 4 ประเภท ในแต่ละประเภทจะใส่ข้อมูลบางอย่างต่างกัน ต้องป้อนข้อมูลทุกอย่างจึงจะสามารถกด Save ได้ และจะสร้างแอปได้สำเร็จ
web application
micro web application
micro application
nano application
Web application +
เลือกประเภทของ Application ที่เมนูด้านข้าง จากนั้นทำการใส่เลข version แล้วกด Create
เมื่อเปิดหน้ามา ให้อัพโหลดไฟล์ application ที่ได้จากการ distribute app จาก pipeline และใส่ข้อมูลที่จำเป็นให้ครบ หากกด save จะเป็นแค่การบันทึก Application
หาก Submit จะเป็นการนำ Application ขึ้นบน Market place
เมื่อทำการ Submit เสร็จ ให้ไปที่ Market place จะเห็น Application ที่เรา submit แสดงอยู่ใน Market
Micro application +
เลือกประเภทของ Application ที่เมนูด้านข้าง จากนั้นทำการใส่เลข version แล้วกด Create
เมื่อเปิดหน้ามา ให้อัพโหลดไฟล์ application ที่ได้จากการ distribute app จาก pipeline และใส่ข้อมูลที่จำเป็นให้ครบ หากกด save จะเป็นแค่การบันทึก Application
หาก Submit จะเป็นการนำ Application ขึ้นบน Market place
Micro web application +
เลือกประเภทของ Application ที่เมนูด้านข้าง จากนั้นทำการใส่เลข version แล้วกด Create
เมื่อเปิดหน้ามา ให้อัพโหลดไฟล์ application ที่ได้จากการ distribute app จาก pipeline และใส่ข้อมูลที่จำเป็นให้ครบ หากกด save จะเป็นแค่การบันทึก Application
หาก Submit จะเป็นการนำ Application ขึ้นบน Marketplace
Nano application +
เลือกประเภทของ Application ที่เมนูด้านข้าง จากนั้นทำการใส่เลข version แล้วกด Create
เมื่อเปิดหน้ามา ให้อัพโหลดไฟล์ application ที่ได้จากการ distribute app จาก pipeline และใส่ข้อมูลที่จำเป็นให้ครบ หากกด save จะเป็นแค่การบันทึก Application
หาก Submit จะเป็นการนำ Application ขึ้นบน Marketplace
เมื่อกดเข้าไปในแอปหลังจากติดตั้งสำเร็จ หมวด (Personal) โดยแต่ละประเภทแอป รายละเอียดข้างในจะมีไม่เหมือนกัน
Home > Application > เลือกประเภท Web App > เลือกแอปที่ต้องการ และสามารถ Uninstall ได้จากหน้านี้
คลิกที่ปุ่ม Update Application URL จะแสดงหน้าต่าง Popup ขึ้นมา ให้แก้ไข
คลิกที่ปุ่ม IAM2 Configuration จะแสดงหน้าต่าง Popup ขึ้นมาให้แก้ไข จำเป็นต้องป้อนข้อมูลให้ครบทุกช่องจึงจะสามารถ Save ได้
Home > Application > เลือกประเภท Micro App > เลือกแอปที่ต้องการ และสามารถ Uninstall ได้จากหน้านี้
Home > Application > เลือกประเภท Micro Web App > เลือกแอปที่ต้องการ และสามารถ Uninstall ได้จากหน้านี้
คลิกที่ปุ่ม Update Application URL จะแสดงหน้าต่าง Popup ขึ้นมา ให้แก้ไข
Home > Application > เลือกประเภท Nano App > เลือกแอปที่ต้องการ และสามารถ Uninstall ได้จากหน้านี้
กรณียังไม่มีแอปที่เคยสร้างไว้ จะแสดงคำว่า No submitted application และจำนวนแอปจะแสดงเป็น 0
1
Tab menu bar โดยแบ่งเป็น Home คือ Application และ Extension
2
แสดงจำนวนแอปที่สร้างทั้งหมด
3
แสดงแอปที่สร้างไว้
4
สามารถเลือกได้ว่าในหนึ่งหน้าจะแสดงกี่แอป
5
เพื่อบอกว่าในแต่ละหน้ามีตั้งแต่แอปที่เท่าใด และสิ้นสุดที่เท่าใด จากแอปทั้งหมด
6
การแบ่งหน้า โดยจะมีก่อนหน้า และถัดไป
7
ปุ่มเพื่อไปยังหน้าการสร้างแอป
1
Tab menu bar โดยแบ่งเป็น Home คือ Application และ Extension
2
แสดงจำนวน Extension ที่มีทั้งหมด
3
แสดง Extension
4
สามารถเลือกได้ว่าในหนึ่งหน้าจะแสดงกี่ Extension
5
เพื่อบอกว่าในแต่ละหน้ามีตั้งแต่ Extension ที่เท่าใด และสิ้นสุดที่เท่าใด จากทั้งหมด
6
การแบ่งหน้า โดยจะมีก่อนหน้า และถัดไป
7
ปุ่มเพื่อไปยังหน้าการสร้าง Extension
กดปุ่ม + เพื่อทำการเริ่ม Submit application
ใส่ข้อมูลให้ครบ แล้วกด Save application
จากนั้นกดที่ Contract Information ที่เมนูด้านข้าง ใส่ข้อมูลให้ครบ แล้วกด Save application
ดู Version History แต่ละประเภท เมื่อไม่มี Version History จะแสดง No Version History
มี Version History
ในส่วนนี้ จะเป็นเพียงขั้นตอนการเพิ่มข้อมูลของ Application ในส่วนของการส่ง Application ขึ้นสู่ Market Place จะแบ่งออกเป็น 2 หัวข้ออีกที ผู้ใช้งานสามารถกดเข้าดูวิธีการส่ง Application ขึ้นสู่ Market Place ตามหัวข้อดังต่อไปนี้
ผู้ใช้งานกดเลือกแถบเมนู ONEWEB Citizen Profile
กดเลือกเมนู “Distribute” ระบบแสดงหน้าจอ Marketplace
กดปุ่ม (+) เพื่อไปยังหน้าการสร้าง Applications
กรอกข้อมูลในส่วนของ General Information ประกอบด้วย
App icon
Name
Description
Category
กดปุ่ม Save Application
กดเลือก Contract Information ระบบแสดงหน้าจอ Contract Information
กรอกข้อมูลในส่วนของ Contract Information ประกอบด้วย
Contract name
Home page url
กดปุ่ม Update Application
กดเลือก Version History แต่ละประเภท เมื่อไม่มี Version History จะแสดง No Version History
กดเลือก Web application
ระบุ Store Version Number และเลือก Multi-tanant
กดปุ่ม Create
เมื่อทำการกดปุ่ม Create ระบบจะแสดงเลขเวอร์ชัน ในส่วนของ Web application แต่ยังไม่พร้อมใช้งาน สังเกตได้จากจุดสีเหลืองหน้าเลขเวอร์ชัน
ผู้ใช้งานทำการกรอกข้อมูลเวอร์ชัน ประกอบด้วย
URL web application
Release note
Screenshorts
กดปุ่ม Save version ระบบแสดง Popup "Save version (เลขเวอร์ชัน) complete"
กดปุ่ม Submit version ระบบแสดง Popup "Submit version (เลขเวอร์ชัน) complete"
เมื่อกดปุ่ม Submit version จะทำให้ Web application เวอร์ชันนั้นพร้อมใช้งาน สังเกตจากจุดสีเขียวหน้าเลขเวอร์ชันและ Application ที่เรา submit จะแสดงอยู่ใน Marketplace
กดเลือก Micro application
ระบุ Store Version Number และเลือก Multi-tanant
กดปุ่ม Create
เมื่อทำการกดปุ่ม Create ระบบจะแสดงเลขเวอร์ชัน ในส่วนของ Micro application แต่ยังไม่พร้อมใช้งาน สังเกตได้จากจุดสีเหลืองหน้าเลขเวอร์ชัน
ผู้ใช้งานทำการกรอกข้อมูลเวอร์ชัน ประกอบด้วย
Build zip file
Release note
Package Name
Screenshorts
Cover image
กดปุ่ม Save version ระบบแสดง Popup "Save version (เลขเวอร์ชัน) complete"
กดปุ่ม Submit version ระบบแสดง Popup "Submit version (เลขเวอร์ชัน) complete"
เมื่อกดปุ่ม Submit version จะทำให้ Micro application เวอร์ชันนั้นพร้อมใช้งาน สังเกตจากจุดสีเขียวหน้าเลขเวอร์ชัน
กดเลือก Micro web application
ระบุ Store Version Number และเลือก Multi-tanant
กดปุ่ม Create
เมื่อทำการกดปุ่ม Create ระบบจะแสดงเลขเวอร์ชัน ในส่วนของ Micro web application แต่ยังไม่พร้อมใช้งาน สังเกตได้จากจุดสีเหลืองหน้าเลขเวอร์ชัน
ผู้ใช้งานทำการกรอกข้อมูลเวอร์ชัน ประกอบด้วย
URL web application
Release note
Screenshorts
กดปุ่ม Save version ระบบแสดง Popup "Save version (เลขเวอร์ชัน) complete"
กดปุ่ม Submit version ระบบแสดง Popup "Submit version (เลขเวอร์ชัน) complete"
เมื่อกดปุ่ม Submit version จะทำให้ Micro web application เวอร์ชันนั้นพร้อมใช้งาน สังเกตจากจุดสีเขียวหน้าเลขเวอร์ชัน
กดเลือก Nano application
ระบุ Store Version Number และเลือก Multi-tanant
กดปุ่ม Create
เมื่อทำการกดปุ่ม Create ระบบจะแสดงเลขเวอร์ชัน ในส่วนของ Nano application แต่ยังไม่พร้อมใช้งาน สังเกตได้จากจุดสีเหลืองหน้าเลขเวอร์ชัน
ผู้ใช้งานทำการกรอกข้อมูลเวอร์ชัน ประกอบด้วย
Build zip file
Release note
Package Name
Screenshorts
Cover image
กดปุ่ม Save version ระบบแสดง Popup "Save version (เลขเวอร์ชัน) complete"
กดปุ่ม Submit version ระบบแสดง Popup "Submit version (เลขเวอร์ชัน) complete"
เมื่อกดปุ่ม Submit version จะทำให้ Nano application เวอร์ชันนั้นพร้อมใช้งาน สังเกตจากจุดสีเขียวหน้าเลขเวอร์ชัน
เมื่อกดเข้าไปในแอปหลังจากติดตั้งสำเร็จ หมวด (Organization) โดยแต่ละประเภทแอป รายละเอียดข้างในจะมีไม่เหมือนกัน
Home > Organization > เลือก Organization ที่ต้องการ > My Application > เลือกประเภท Web App > เลือกแอปที่ต้องการ > Tab Member
เมื่อต้องการ delete member
เมื่อต้องการ Add member เพิ่มเข้าไป คลิกที่ปุ่ม Add member จะแสดง popup เพื่อป้อน member ที่ต้องการและกด Add member เมื่อเพิ่ม member สำเร็จจะแสดง popup ว่า Success
Tab Role
ในการ Add role ใหม่ คลิกที่ปุ่ม Add role จะแสดง popup เพื่อป้อน role name ที่ต้องการ และกด Add role เมื่อเสร็จจะแสดงที่รายการ
เมื่อต้องการ ดู member ที่อยู่ใน role นั้นๆ
มายังหน้า View member จะแสดง member ที่อยู่ใน role นั้น
เมื่อต้องการ delete member ที่อยู่ใน role นั้นๆ
เมื่อต้องการ Add member เพิ่มเข้าไป ใน Role นั้นๆ คลิกที่ปุ่ม Add member จะแสดง popup เพื่อป้อน member ที่ต้องการและกด Add member เมื่อเพิ่ม member สำเร็จจะแสดง popup ว่า Success
สามารถ Uninstall ได้จากหน้านี้
Tab Setting
คลิกที่ปุ่ม Update Application URL จะแสดงหน้าต่าง Popup ขึ้นมา ให้แก้ไข
คลิกที่ปุ่ม IAM2 Configuration จะแสดงหน้าต่าง Popup ขึ้นมาให้แก้ไข จำเป็นต้องป้อนข้อมูลให้ครบทุกช่องจึงจะสามารถ Save ได้
Home > Organization > เลือก Organization ที่ต้องการ > My Application > เลือกประเภท Micro App > เลือกแอปที่ต้องการ > Tab Member
เมื่อต้องการ Add member เพิ่มเข้าไป คลิกที่ปุ่ม Add member จะแสดง popup เพื่อป้อน member ที่ต้องการและกด Add member เมื่อเพิ่ม member สำเร็จจะแสดง popup ว่า Success
Tab Setting สามารถ Uninstall ได้จากหน้านี้
Home > Organization > เลือก Organization ที่ต้องการ > My Application > เลือกประเภท Micro web App > เลือกแอปที่ต้องการ > Tab Member
เมื่อต้องการ delete member ที่อยู่ใน role นั้นๆ
เมื่อต้องการ Add member เพิ่มเข้าไป ใน Role นั้นๆ คลิกที่ปุ่ม Add member จะแสดง popup เพื่อป้อน member ที่ต้องการและกด Add member เมื่อเพิ่ม member สำเร็จจะแสดง popup ว่า Success
Tab Setting สามารถ Uninstall ได้จากหน้านี้
คลิกที่ปุ่ม Update Application URL จะแสดงหน้าต่าง Popup ขึ้นมา ให้แก้ไข
Home > Organization > เลือก Organization ที่ต้องการ > My Application > เลือกประเภท Nano App > เลือกแอปที่ต้องการ > Tab Member
เมื่อต้องการ Add member เพิ่มเข้าไป ใน Role นั้นๆ คลิกที่ปุ่ม Add member จะแสดง popup เพื่อป้อน member ที่ต้องการและกด Add member เมื่อเพิ่ม member สำเร็จจะแสดง popup ว่า Success
Tab Setting สามารถ Uninstall ได้จากหน้านี้
คลิกแอปที่ต้องการอัปเดตข้อมูล
ทำการเปลี่ยนแปลงอัปเดตข้อมูล (ขั้นตอนนี้ทำคล้ายกับขั้นตอนการ Add Application)
กรณียังไม่มี Organization ที่เคยสร้างไว้ จะแสดงคำว่า No organization
สร้าง User ใน Organization คลิกที่ Users
จะแสดง users ทั้งหมดที่มีใน Organization นี้
สามารถดูข้อมูล หรือ แก้ไขสิทธิของ User นั้นๆ ได้ และเมื่อต้องการไปยังเมนูถัดไปสามารถกดได้ทั้งสองที่ แทบด้านซ้าย หรือปุ่ม next ทางด้านขวา
เมื่อทำการแก้ไข user เสร็จเรียบร้อย ก็กดปุ่ม Save เพื่อทำการบันทึกที่แก้ไขไป
จะแสดง popup ขึ้นมาเพื่อบอกว่าเพิ่ม user สำเร็จ
Delete Users
สามารถลบ user ได้ โดยการคลิกที่ checkbox user ที่ต้องการลบ แล้วกดปุ่ม Delete (จะไม่สามารถลบตัวเองออกได้)
จะแสดง popup เพื่อยืนยันการลบ
ครั้งแรกที่เข้ามายังส่วนของ Developer จะแสดงเป็นปุ่ม Get FREE trial และเมื่อกดเข้าไปแล้ว จะมีข้อมูลของการ Login ส่งไปยัง email และเมื่อกลับเข้ามาใหม่ ข้อความของปุ่มจะเปลี่ยนไป
ข้อความของปุ่มจะเปลี่ยนไปเป็นคำว่า Open designer suite และเมื่อคลิกเข้าไป จะลิงค์ไปยัง Appspace
เมื่อคลิกที่ปุ่ม Login สามารถนำข้อมูลที่ส่งมายังเมล มาป้อนแล้วเข้าสู่ระบบเพื่อทำการ Developer ได้
เมื่อคลิกที่ Extension ที่ต้องการ จะแสดง popup ให้ Download
เมื่อคลิกที่ Forum จะลิงค์ไปยัง https://commercial.oneweb.tech
โดยในการส่งข้อความแบบตัวอักษร ให้ผู้ใช้งานทำการกดที่ช่องข้อความ จากนั้นทำการพิมพ์ข้อความที่ต้องการลงไปและเมื่อทำการพิมพ์ข้อความรียบร้อยแล้ว ให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่ม เพื่อส่งข้อความให้ผู้ใช้งานฝั่งตรงข้าม ดังที่แสดงในภาพที่ 4
ในการส่งข้อความแบบ Sticker ให้ผู้ใช้งานทำการกดที่ปุ่ม ดังภาพที่ 5 จากนั้น แอปพลิเคชันจะแสดง Pop up หน้า Sticker ทั้งหมด ให้ผู้ใช้งานทำการเลือก Sticker ที่ต้องการ แอปพลิเคชันจะแสดงหน้าตัวอย่าง Sticker นั้นขึ้นมา ให้ผู้ใช้งานกดที่ Sticker ที่หน้าตัวอย่างนั้นอีกครั้ง เพื่อยืนยันการส่ง จากนั้น Sticker จะถูกส่งไปยังหน้าแชท ดังภาพที่ 6 และผู้ใช้งานฝั่งตรงข้ามจะสามารถเห็นข้อความนี้ได้ด้วยนข้อความได้
ในการส่งข้อความแบบ Mediaนข้อความได ให้ผู้ใช้งานกดที่ปุ่ม ดังภาพที่ 7 จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดงปุ่ม Media และปุ่ม File ให้เลือก ดังภาพที่ 8
จากภาพที่ 11 ให้ผู้ใช้งานทำการกดที่ปุ่ม จากนั้นจะมี Pop up ดังภาพที่ 12
เมื่อผู้ใช้งานต้องการส่งข้อความแบบเสียง สามารถทำได้โดยการกดที่ปุ่ม ดังภาพที่ 14 จากนั้นแอปพลิเคชันจะแสดงปุ่มบันทึกเสียงดังภาพที่ 15
ในการดาวน์โหลดไฟล์ Document ผู้ใช้งานจะต้องทำการกดที่ปุ่ม ด้านหลังไฟล์ที่ต้องการดังภาพที่ 22 จากนั้นแอปพลิเคชันแสดง Pop up ปุ่ม “Download” และ “Open with” ให้เลือกดังภาพที่ 23
ในการเปิดไฟล์ Document ผู้ใช้งานจะต้องทำการกดที่ปุ่ม ด้านหลังไฟล์ที่ต้องการจากนั้นแอปพลิเคชันแสดง Pop up ปุ่ม “Download” และ “Open with” ให้เลือกดังภาพที่ 26
สร้างโฟลเดอร์ใหม่หรืออัพโหลดไฟล์
ใน My file ผู้ใช้งานสามารถที่จะสร้างโฟลเดอร์ หรืออัพโหลดไฟล์ได้ตามขั้นตอนดังนี้
กดที่ปุ่ม “+” จากนั้นจะแสดงเมนูให้เลือก
แสดงเมนูโฟลเดอร์ใหม่ (New Folder) และอัพโหลดไฟล์ (Upload files)
เมื่อเลือกเมนู โฟลเดอร์ใหม่ (New Folder) จะแสดงหน้าจอให้กรอกชื่อโฟลเดอร์ (Folder Name) และเลือกประเภทของโฟลเดอร์ (Folder Type)
เมื่อเลือกเมนู โฟลเดอร์ใหม่ (New Folder) จะแสดงหน้าจอให้กรอกชื่อโฟลเดอร์ (Folder Name) และเลือกประเภทของโฟลเดอร์ (Folder Type)
กรอกชื่อโฟลเดอร์ที่ต้องการ ในช่องชื่อโฟลเดอร์ (Folder Name)
ประเภทของโฟลเดอร์ (Folder Type) ประกอบด้วย โฟลเดอร์เข้ารหัส (Encrypt Folder) การควบคุมตัวเลือก (Option Control) และสามารถเลือกได้ทั้งสองแบบรวมกัน หากไม่เลือกประเภทโฟลเดอร์ ก็จะเป็นโฟลเดอร์ปกติ (Normal Folder) โดยอัตโนมัติ
หน้า Friend จะเป็นหน้าที่แสดงรายชื่อของเพื่อที่เราเชื่อมต่อกันโดยการเพิ่มเพื่อน (Add Friend) ไว้ และในหน้านี้ก็จะเป็นหน้าที่สำหรับเพิ่มเพื่อนด้วยเช่นกัน นอกจากแสดงราบชื่อเพื่อนแล้ว ยังแสดงรายชื่อของคนที่เราบล็อค (Block) และรายงาน (Report) ด้วยเช่นกัน
สำหรับการเพิ่มเพื่อนเพื่อติดต่อ ผู้ใช้งานสามารถทำได้โดยกดที่ปุ่ม Add friend ที่มุมขวาดังในภาพ จากนั้นจะมีหน้าต่างแสดงขึ้นมา ให้ผู้ใช้งานใส่ชื่อ นามสกุล อีเมลล์หรือเบอร์โทรศัพท์ที่ช่อง Search จากนั้นกด Enter ที่คีย์บอร์ด ระบบจะแสดงรายชื่อที่มีผลลัพธิ์ตรงกันขึ้นมา จากนั้นให้ผู้ใช้งานกดเชื่อมต่อ (Connect)
โดยหากคนที่เราทำการเพิ่มเพื่อนไปตั้งค่าให้สามารถเพิ่มเพื่อนได้อัตโนมัติ เราจะสามารถติดต่อกับเพื่อนได้เลย ดังภาพที่ 3 แต่หากคนที่เราทำการเพิ่มเพื่อนตั้งค่าไว้ให้กดรับเพื่อนรายคน ผู้ใช้งานต้องรอให้อีกฝ่ายกดยอมรับคำขอก่อน จึงจะสามารถติดต่อได้ ดังภาพที่ 4
CENTER APP
VERSION 0.1.53
New Features (1 Feature)
Feature : แสดงตำแหน่งของเพื่อนใน location
Improvement UI
Phone number : ฟิลด์มี +66 แล้วไม่ต้องบังคับใส่เลข 0 ข้างหน้า เมื่อ sign in/ sign up Phone number : ปรับปรุงลักษระการแสดงผลของเลข Phone number
Defects Fixed (9 Issue)
Chat : โหลดแอปมาใหม่แล้วเข้าไปใช้งานแชท พบว่าเมื่อกดส่งข้อความในแชทกลุ่ม จะมีข้อความของตัวเองแสดงขึ้นมาจากฝ่ายตรงข้ามด้วย Chat : ตั้งค่า Message font size เป็น Large/Super Large ช่อง "Enter a message" ไม่อยู่ตรงกลาง Chat : เมื่อกดเข้าหน้า Setting ของแชทเพื่อน ระหว่ารอโหลดแสดงหน้า Setting แบบ Chat group ขึ้นมา Chat : เลือกส่งหลายไฟล์พร้อมกัน ระหว่างรอโหลดไฟล์แสดงขึ้นซ้ำกัน Sign up : ทำการสมัครบัญชีด้วย Phone number ในส่วนของหน้า Verify code แก้ไขข้อความจาก "Enter it within 1 minute." เป็น "Enter it within 10 minute." (เปลี่ยนเป็น 10 นาที) Sign up : สมัครบัญชีผู้ใช้ยังไม่สำเร็จ แต่ทำการ Kill app ออกไป เมื่อกดเข้าแอปอีกครั้ง แอปจะเข้าสู่ระบบให้เอง (เป็น account ที่ไม่รู้จัก) File : เมื่อทำการ Clear Trash ตรงปุ่มใน Pop up ไม่เท่ากัน File : แชร์ไฟล์ที่ไปทีละหลายๆ แชทไม่ได้ ไฟล์ถูกแชร์แค่แชทล่าสุดที่เลือก Share File : แชร์ไฟล์จากไลน์ไป center app พบว่าไฟล์ไม่แสดง
ปักหมุดโพสต์(Pin Post) แสดงโปรไฟล์เมื่อhover (Profile popover)
อัพโหลดไฟล์ (Upload file)
DF : File (Option Control)> กดกลับแล้วเมนู Manage Version หาย DF : แก้ไขขนาดหน้า group DF : Layout โปรไฟล์เพื่อน DF : My Center > Friend > ค้นหาเพื่อนไม่ได้ DF : Group Request>แสดงคำว่า Undefined DF : แก้ไขให้กด Link จาก Caption เปิด new tab เหมือนกด Link ที่ Topic DF : Group > ค าบรรยายกลุ่มแบบ public ไม่ถูกต้อง DF : Quick chat ถ้ามี message มา tab แชทชื่อไม่ขึ้น DF : Upload backgroundมีแทรกหลังสุด รูป 2 รูป DF : Draft post ไม่แสดงวันที่ (invalid date) DF : Share file : ในกรณีที่ user มีเพื่อนจำนวนน้อย แล้วหน้า share file แสดง list friend ห่างกันมาก DF : Post > การปักหมุดในกลุ่มควรแสดงแค่ในกลุ่ม ไม่ต้องแสดงหน้า home DF : Group > Post > Owner/Admin ปักหมุด post ในกลุ่มแล้ว member ในกลุ่มควรเห็นปักหมุดเหมือนกัน DF : Group > Chat ในหน้า group แบบ community แสดงชื่อ user ที่เข้ากลุ่มมาใหม่ว่า undefined DF : Community group > Modal manage member มีพื้นที่เหลือเยอะ DF : บล็อคเพื่อนไม่ได้ DF : จำนวน action center ไม่อัพเดท realtime DF : จำนวนคนไลค์แสดงไม่ถูกต้องเมื่อเรากดไลค์ DF : File > ในส่วนของ recent file ควรดันอันใหม่เข้ามาหลัง move file DF : Share File to : แก้ไขกลุ่มที่ไม่มีรูปให้เป็น No Images DF : File > ถ้าไฟล์เกิน 30 infinite scroll ไม่ทำงาน ทั้งใน Folder และนอกสุด DF : my center > groups -> รูปบางรูปขึ้นสีเทา เปลี่ยนให้เป็น No Images
การเข้าสู่ระบบ ผู้ใช้งานสามารถเข้าสู่ระบบได้ 2 วิธีคือ
การเข้าสู่ระบบด้วย Email
การเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์
ในการใช้งาน Center application ผู้ใช้จำเป็นที่จะต้องทำการสมัครบัญชีผู้ใช้งานก่อน จากนั้นจึงจะสามารถใช้ Username และ Password ที่สร้างมาลงชื่อเข้าใช้งานได้ ขั้นตอนการเข้าสู่ระบบด้วย Email มีดังนี้
จากภาพที่ 1 ให้ผู้ใช้งานทำการกรอก Email
ทำการกรอกเบอร์โทรศัพท์ Password
เมื่อ Login สำเร็จ ระบบจะแสดงหน้าจอดังภาพที่ 2
ขั้นตอนการเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์ มีดังนี้
ทำการกดที่ข้อความ Login with Phone Number
จากภาพที่ 3 ให้ผู้ใช้งานทำการกรอกเบอร์โทรศัพท์
ทำการกรอกเบอร์โทรศัพท์ Password
กรณีผู้ใช้งานทำการกรอก Username หรือ Password ไม่ถูกต้อง ระบบจะแสดงแจ้งเตือน ดังภาพที่ 4 ภาพที่ 4 แสดงแจ้งเตือนเมื่อกรอก Username หรือ Password ไม่ถูกต้อง
หมายเหตุ หากผู้ใช้งานใส่ข้อมูล username และ password ไม่ถูกต้อง ระบบแสดงแจ้งเตือน The username and password is incorrect.
ทำการกดปุ่ม เพื่อเข้าสู่หน้าแรกของระบบ
ทำการกดปุ่ม เพื่อเข้าสู่หน้าแรกของระบบดังภาพที่ 3 1 2 3ภาพที่ 3 หน้าแรกเมื่อเข้าสู่ระบบ